ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน โครงการร่วมสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน สถาบันวิจัยประชากรและสังคม คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย
เว็บไซต์ http://www.aihd.mahidol.ac.th/new/en/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรนี้บูรณาการร่วมกันการจัดการเรียนการสอนภายใต้ ๗ ส่วนงานของมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อสร้างองค์ความรู้แบบพหุสาขาวิชาในการเรียนการสอน และบรรจุรายวิชาการฝึกปฏิบัติทางการวิจัยสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืนลงในรายวิชาหมวดวิชาบังคับเพื่อเพิ่มประสบการณ์ให้นักศึกษาสามารถร่วมฝึกปฏิบัติงานจริงร่วมกับองค์กรด้านสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับชาติและนานาชาติ เป็นเวลา ๑ ภาคการศึกษา อีกด้วย

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Academic personnel and researcher in the field of health and sustainable development at government and private academic organizations 2. Research and development consultant in the field of health and sustainable development and related areas 3. Manager and staff in the field of health and sustainable development and related areas 4. Policy synthesis and coordinator in the field of health and sustainable development and related areas

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
สอสย๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สอสย๗๐๑ : หลักการสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สอสย๗๐๒ : ระบบสุขภาพและนโยบายสาธารณะที่ยั่งยืน 2
สอสย๗๐๔ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางสุขภาพและความยั่งยืน 1
สอสย๗๐๙ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยเพื่อสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืนขั้นสูง 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศสย๗๑๓ : การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์และการประเมินเทคโนโลยีสุขภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สอสย๗๑๐ : แนวคิดหลักการและการปฏิบัติด้านสุขภาพหนึ่งเดียว 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทมสย๗๒๐ : การแสดงผลข้อมูลและเทคนิคการนำเสนอข้อมูลเพื่อสุขภาวะที่ยั่งยืน 3
ทมสย๗๒๑ : สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพที่ยั่งยืน 3
วจสย๗๑๘ : นโยบายสุขภาพโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สพสย๗๑๔ : แบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อสุขภาวะที่ยั่งยืน 3
สพสย๗๑๕ : วิทยาการระบาดสำหรับนโยบายสาธารณะที่ยั่งยืน 3
สศสย๗๑๒ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สอสย๗๐๓ : การฝึกปฏิบัติทางการวิจัยสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สอสย๗๐๕ : ระบาดวิทยาเพื่อการพัฒนาสุขภาวะที่ยั่งยืนขั้นสูง 3
สอสย๗๐๖ : วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สอสย๗๐๗ : การพัฒนาตัวชี้วัดทางสุขภาพและความยั่งยืน 3
สอสย๗๐๘ : การประเมินความเสี่ยงและผลกระทบสุขภาพเพื่อความยั่งยืน 3
สอสย๗๑๑ : ปัญหาพิเศษทางด้านสุขภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน 3
สอสย๗๒๓ : สุขภาพโลกและนโยบายสังคมเพื่อความยั่งยืน 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สอสย๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สวสย๗๒๒ : การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความยั่งยืน และสุขภาพสาธารณะโลก 3

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. ชีระวิทย์ รัตนพันธ์   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. อรพินท์ เล่าซี้
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. จารุวรรณ ธาดาเดช
  5. รองศาสตราจารย์ ดร.. ธันวดี สุขสาโรจน์
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. มธุรส ทิพยมงคลกุล
  7. รองศาสตราจารย์ ดร.พญ. สารนาถ ล้อพูลศรี นิยม
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. มาร์ก เฟิลเคอร์
  9. รองศาสตราจารย์ ดร.น.สพ. อนุวัตน์ วิรัชสุดากุล
  10. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. ภูดิท เตชาติวัฒน์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรียาพร เกิดฤทธิ์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สพ.ญ. ศรินทร์ สุวรรณภักดี
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พจนา หันจางสิทธิ์
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นนทสรวง กลีบผึ้ง

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่