ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เว็บไซต์ http://www.ict.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาการคอมพิวเตอร์)

จุดเด่นของหลักสูตร

การปรับปรุงหลักสูตรนี้ เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยมีการปรับให้เข้ากับสถานการณ์จริง และให้เป็นไปตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ และสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อให้สามารถรองรับการแข่งขันทางวิชาการและการวิจัยด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ได้มีความร่วมมือกันมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายที่จะ ผลิตบุคลากรทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถและมีศักยภาพสูง สามารถพัฒนางานวิจัยที่มี คุณภาพ ปฏิบัติตนอย่างมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นไปตามนโยบายและวิสัยทัศน์ ของมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางด้านการศึกษาและการวิจัย เพื่อผลิตบัณฑิตที่เก่งและเป็น คนดีของสังคม

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
วิทยานิพนธ์ 72            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Computer Scientist 2. Computer Science Educator 3. Computer Technical Officer 4. Information Technology Project Manager 5. Information Technology Consultant

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ทสคพ๘๙๙ : วิทยานิพนธ์ 72
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทสคพ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ทสคพ๕๒๓ : ส่วนสำคัญของวิทยาการข้อมูล 3
ทสคพ๕๓๑ : คณิตศาสตร์สำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
ทสคพ๕๓๒ : พื้นฐานของวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ 2
ทสคพ๕๓๓ : ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
ทสคพ๖๗๑ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๑ 1
ทสคพ๖๗๒ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๒ 1
ทสคพ๖๗๓ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๓ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทสคพ๕๓๑ : คณิตศาสตร์สำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
ทสคพ๕๓๒ : พื้นฐานของวิทยาศาสตร์เชิงคำนวณ 2
ทสคพ๕๓๓ : ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
ทสคพ๖๗๑ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๑ 1
ทสคพ๖๗๒ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๒ 1
ทสคพ๖๗๓ : การสัมมนาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ ๓ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
   Database
ทสคพ๖๒๑ : การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล 3
ทสคพ๖๖๘ : ฐานข้อมูลระบบคลาวด์และเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ 3
ทสคพ๖๘๒ : ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง 3
   Network and Security
ทสคพ๕๕๑ : การคำนวณเชิงบริการและคลาวด์ 3
ทสคพ๕๕๔ : การจัดการความมั่นคงของสารสนเทศ 3
ทสคพ๖๓๘ : ความมั่นคงของระบบเครือข่ายและระบบแบบกระจาย 3
ทสคพ๖๘๗ : ความมั่นคงของคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3
   Artificial Intelligence
ทสคพ๕๑๗ : การเรียนรู้เชิงเครื่องจักร 3
ทสคพ๕๑๘ : การวิเคราะห์และความเข้าใจภาพ 3
ทสคพ๖๖๑ : ปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง 3
ทสคพ๖๖๕ : การประมวลผลภาษาธรรมชาติ 3
ทสคพ๖๖๗ : คอมพิวเตอร์วิทัศน์ขั้นสูง 3
ทสคพ๖๙๒ : หัวข้อขั้นสูงด้านปัญญาประดิษฐ์ 3
   Software Engineering
ทสคพ๖๑๓ : เครื่องมือและสภาพแวดล้อมสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๑๕ : วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงประจักษ์ 3
ทสคพ๖๔๒ : การจัดการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๔๔ : การประกันคุณภาพซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๔๖ : วิศวกรรมความต้องการ 3
ทสคพ๖๙๓ : หัวข้อขั้นสูงด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3
   Other Elective Courses
ทสคพ๕๐๓ : การออกแบบและวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี 3
ทสคพ๖๕๕ : คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ 3
ทสคพ๖๙๔ : ชีวสารสนเทศศาสตร์ 3
ทสคพ๖๙๕ : การศึกษาอิสระ 3
ทสคพ๖๙๖ : หัวข้อขั้นสูงด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทสคพ๖๓๘ : ความมั่นคงของระบบเครือข่ายและระบบแบบกระจาย 3
ทสคพ๖๔๒ : การจัดการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๔๖ : วิศวกรรมความต้องการ 3
ทสคพ๖๘๗ : ความมั่นคงของคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3
ทสคพ๖๙๒ : หัวข้อขั้นสูงด้านปัญญาประดิษฐ์ 3
ทสคพ๖๙๓ : หัวข้อขั้นสูงด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3
ทสคพ๖๙๔ : ชีวสารสนเทศศาสตร์ 3
ทสคพ๖๙๕ : การศึกษาอิสระ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ทสคพ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทสคพ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. Peter Fereed Haddawy
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. วัสกา วิสุทธิวิเศษ
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภวงศ์ ทั่วรอบ
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. ชมทิพ พรพนมชัย
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธันวดี สุเนตนันท์
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาญยศ ปลื้มปิติวิริยะเวช
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชัยยงค์ รักขิตเวชสกุล
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรีชา ตั้งวรกิจถาวร
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญสิทธิ์ ยิ้มวาสนา
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินันท์ ตันติธรรม
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มรกต เชิดเกียรติกุล
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัคร สุประทักษ์
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดลวรา คุณะดิลก
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนพล นรเสฏฐ์
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทรงพล ตีระกนก
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทรงศรี ตั้งศรีไพโรจน์
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โมเรศ ปรัชญพฤทธิ์
  19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิดาภา ไกรสังข์
  20. อาจารย์ ดร. อัษฎารัตน์ คูรัตน์
  21. อาจารย์ ดร. พัฒนศักดิ์ มงคลวัฒน์
  22. อาจารย์ ดร. ฐิติวัชร์ พัฒนศักดิ์ภิญโญ
  23. อาจารย์ ดร. ศิริเพ็ญ พงษ์ไพเชฐ
  24. อาจารย์ ดร. พิสิฐ ไพรวัฒนา
  25. อาจารย์ ดร. วุฒิชาติ แสวงผล
  26. อาจารย์ ดร. อิทธิพล รัศมีโรจน์
  27. อาจารย์ ดร. เพชร สัจจชลพันธ์
  28. อาจารย์ ดร. ทิพาจินต์ ไทยพิสุทธิกุล

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่