ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะเทคนิคการแพทย์
เว็บไซต์ http://www.mt.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เทคนิคการแพทย์)

จุดเด่นของหลักสูตร

The Doctor of Philosophy Programme in Medical Technology of the Faculty of Medical Technology provides advanced courses and researches in a broad range of disciplines in medical technology and related sciences. The Faculty collaborates with leading universities and institutions both nationally and internationally. Almost all of the students have the opportunity to take some courseworks or part of their researches at oversea collaborating institutions.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 8            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
Plan 1.1: Student may register any courses recommended by program committee (without credit)

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Researcher; expert; medical technology specialist; executive administrator in university, education institute, research institute, hospital and center of medical laboratory 2. Medical product inventor or innovator 3. Knowledge transfer specialist

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทนคร๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ทนคร๖๐๑ : การบริหารห้องปฏิบัติการทางคลินิก 2
ทนคร๖๐๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย 2
ทนคร๖๑๘ : วิทยาการห้องปฏิบัติการคลินิก ๑ 2
ทนคร๖๒๐ : การจัดการนวัตกรรม และเทคโนโลยีการวิจัย 2
ทนคร๖๒๑ : พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลและการแพทย์จำเพาะบุคคล 2
ทนคร๖๒๒ : ชีวสถิติสำหรับการวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ 1
ทนคร๖๒๖ : ชีวสารสนเทศการแพทย์ขั้นสูง 2
ทนคร๖๒๘ : สัมมนาทางเทคนิคการแพทย์ขั้นสูง 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทนคร๖๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางเทคนิคการแพทย์ 2
ทนคร๖๒๐ : การจัดการนวัตกรรม และเทคโนโลยีการวิจัย 2
ทนคร๖๒๖ : ชีวสารสนเทศการแพทย์ขั้นสูง 2
ทนคร๖๒๘ : สัมมนาทางเทคนิคการแพทย์ขั้นสูง 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ทนคค๖๐๑ : เคมีคลินิกขั้นสูง 3
ทนคค๖๐๗ : พิษวิทยาคลินิกชั้นสูง 2
ทนคค๖๑๑ : พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลทางการแพทย์ 2
ทนคค๖๑๒ : หัวข้อเลือกสรรทางเคมีคลินิก 1
ทนคค๖๑๔ : การประเมินประสิทธิภาพทางคลินิกของการทดสอบวินิจฉัย 2
ทนคค๖๑๕ : ไบโอเซนเซอร์ 2
ทนคม๕๐๒ : หัวข้อปัจจุบันทางโลหิตวิทยา 2
ทนคม๖๐๕ : เทคนิคทางธนาคารเลือดและวิทยาภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา 2
ทนคม๖๐๙ : จุลทรรศนศาสตร์คลินิกขั้นสูง 3
ทนคม๖๑๒ : พันธุศาสตร์ทางการแพทย์ขั้นสูง 2
ทนคร๕๐๖ : การออกแบบและสร้างเครื่องมือสำหรับห้องปฏิบัติการคลินิกขั้นพื้นฐาน 3
ทนคร๖๐๖ : เทคโนโลยีปัจจุบันทางชีววิทยาระดับโมเลกุล 2
ทนคร๖๐๘ : เทคโนโลยีทางการตรวจวินิจฉัยในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต 2
ทนคร๖๑๖ : ความเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ 2
ทนคร๖๑๙ : วิทยาการห้องปฏิบัติการทางคลินิก ๒ 1
ทนคร๖๒๓ : หัวข้อเลือกสรรทางด้านเทคโนโลยีประยุกต์และชีวการแพทย์ 1
ทนคร๖๒๔ : การแพทย์แม่นยำและการประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2
ทนคร๖๒๕ : เซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาวะเสื่อม 1
ทนจค๖๐๑ : จุลชีววิทยาคลินิกขั้นสูง 3
ทนจค๖๑๐ : หัวข้อเลือกสรรทางด้านจุลชีววิทยาระดับโมเลกุล 1
ทนจค๖๑๑ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อ 1
ทนจค๖๑๓ : หัวข้อเลือกสรรอิสระทางจุลชีววิทยา 1
ทนจค๖๑๕ : โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ 2
ทนจค๖๑๗ : ภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิกขั้นสูง 2
ทนจค๖๑๘ : แนวโน้มเทคโนโลยีทางจุลชีววิทยาคลินิก 2
ทนจค๖๑๙ : การโคลนยีนและการผลิตโปรตีนรีคอมบิแนนท์ในแบคทีเรีย 2
ทนจน๖๑๔ : ความก้าวหน้าทางด้านสารต้านจุลชีพและการดื้อยา 1
ทนทช๖๐๑ : สุขภาพประชากร และเทคนิคการแพทย์ชุมชน 2
ทนทช๖๐๒ : สารสนเทศศาสตร์ทางสุขภาพ 2
ทนทช๖๐๓ : หัวข้อเลือกสรรทางปรสิตวิทยาการแพทย์และกีฏวิทยาการแพทย์ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทนคค๖๐๑ : เคมีคลินิกขั้นสูง 3
ทนคค๖๐๗ : พิษวิทยาคลินิกชั้นสูง 2
ทนคค๖๑๕ : ไบโอเซนเซอร์ 2
ทนคม๕๐๒ : หัวข้อปัจจุบันทางโลหิตวิทยา 2
ทนคม๖๐๙ : จุลทรรศนศาสตร์คลินิกขั้นสูง 3
ทนคม๖๑๒ : พันธุศาสตร์ทางการแพทย์ขั้นสูง 2
ทนคร๖๐๖ : เทคโนโลยีปัจจุบันทางชีววิทยาระดับโมเลกุล 2
ทนคร๖๐๘ : เทคโนโลยีทางการตรวจวินิจฉัยในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต 2
ทนคร๖๑๖ : ความเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ 2
ทนคร๖๑๙ : วิทยาการห้องปฏิบัติการทางคลินิก ๒ 1
ทนคร๖๒๓ : หัวข้อเลือกสรรทางด้านเทคโนโลยีประยุกต์และชีวการแพทย์ 1
ทนคร๖๒๔ : การแพทย์แม่นยำและการประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2
ทนคร๖๒๕ : เซลล์ต้นกำเนิดและเวชศาสตร์ฟื้นฟูสภาวะเสื่อม 1
ทนจค๖๐๑ : จุลชีววิทยาคลินิกขั้นสูง 3
ทนจค๖๑๓ : หัวข้อเลือกสรรอิสระทางจุลชีววิทยา 1
ทนจค๖๑๕ : โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ 2
ทนจค๖๑๗ : ภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิกขั้นสูง 2
ทนจค๖๑๙ : การโคลนยีนและการผลิตโปรตีนรีคอมบิแนนท์ในแบคทีเรีย 2
ทนจน๖๑๔ : ความก้าวหน้าทางด้านสารต้านจุลชีพและการดื้อยา 1
ทนทช๖๐๒ : สารสนเทศศาสตร์ทางสุขภาพ 2
ทนทช๖๐๓ : หัวข้อเลือกสรรทางปรสิตวิทยาการแพทย์และกีฏวิทยาการแพทย์ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ทนคร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ทนคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. ชนิยา ลี้ปิยะสกุลชัย   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. รัตนา ลาวัง
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. วัชระ ชุ่มบัวตอง
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. ธีรพล เปียฉ่ำ
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. อังกูรา สุโภคเวช
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. ดลินา ตันหยง
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. สุรีรัตน์ พรธาดาวิทย์
  9. รองศาสตราจารย์ ดร. อมรา อภิลักษณ์
  10. รองศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ดา ใยน้อย
  11. รองศาสตราจารย์ ดร. กุลชาติ จังภัทรพงศา
  12. รองศาสตราจารย์ ดร. วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร
  13. รองศาสตราจารย์ ดร. พรลดา นุชน้อย
  14. รองศาสตราจารย์ ดร. พัชนี ชูทอง
  15. รองศาสตราจารย์ ดร. วิลาสินี จึงประสบสุข
  16. รองศาสตราจารย์ ดร. ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์
  17. รองศาสตราจารย์ ดร. กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น
  18. รองศาสตราจารย์ ดร. หทัยรัตน์ เลิศสำราญ
  19. รองศาสตราจารย์ ดร. ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เธียรรัตน์ ตั้งไชยคีรี
  21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนา ดาเก็ง
  22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิตรดา เพชรฟอง
  23. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลธิดา กิติดี
  24. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดลพร ริยะป่า
  25. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธิติกานต์ สิทธิเวช
  26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนา กลัดสมบูรณ์
  27. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาฎิณี ทิพกรณ์
  28. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลิขิต ปรียานนท์
  29. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิลักษณ์ วรชาติชีวัน
  30. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมชาย บุญเพ็งรักษ์
  31. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณภัทร สองทวี
  32. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มลธิรา พรมกัณฑ์
  33. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คัคนานต์ สรุงบุญมี
  34. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิริรัตน์ ลูกอินทร์
  35. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวเรศ อ่อนทอง
  36. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชวลิต จตุพีรพัฒน์
  37. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชุติพงศ์ สุขคะนนท์
  38. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระวุฒิ จันทร์มี
  39. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธรรมรักษ์ สุขศรีชวลิต
  40. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประสงค์ แคน้ำ
  41. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทพญ. วิดา ปรัชชญาสิทธิกุล
  42. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ จันทร์อ่อน
  43. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สกาวรัตน์ เลิศจุฑาพร
  44. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สินีวัลยา วิชิต
  45. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กนกวรรณ กิตตินิยม
  46. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รุ่งโรจน์ เชิดตระกูลเกียรติ
  47. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิชนันท์ แย้มกมล
  48. อาจารย์ ดร. มยุรี ชนะสกุลนิยม
  49. อาจารย์ ดร. ชุลีพร พนัสอัมพร
  50. อาจารย์ ดร. ณัฐภัทร อนุวงศ์เจริญ
  51. อาจารย์ ดร. พจนารถ วานิจจะกูล
  52. อาจารย์ ดร. วิชญาพร คำพรม
  53. อาจารย์ ดร. ณัฐฐ หอมดี
  54. อาจารย์ ดร. ปิยดา ณ นคร
  55. อาจารย์ ดร. ธารารัตน์ ขาวเขียว
  56. อาจารย์ ดร. ชลธิดา ยาระณะ

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่