ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาสาธารณสุข (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาสาธารณสุข (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะสาธารณสุขศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.ph.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(จุลชีววิทยาสาธารณสุข)

จุดเด่นของหลักสูตร

The programme of microbiological public health provides not only deep but also wide knowledge regarding controlling and solving problems of micro-organisms and the environment systematically. Students will be able to use biological technology in the community. They will be able to create innovations and research in microbiological public health to develop human beings' quality of life. Moreover, students will learn useful communication and information technology skills. Their leadership and teamwork will be improved. Finally, they will do ethical work and research.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 8            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Academic specialist/public health professional/consultant in infectious diseases prevention and control in government or private either in domestic or international organizations 2. Researcher in infectious disseases in the field of microbiology in relating to public health in research institutes or other related organizations 3. Knowledge transfer specialist in academic institutes

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
สศคร๗๑๕ : วิธีทางชีวสถิติและวิทยาการระบาดในงานสาธารณสุข 3
สศจว๖๒๔ : จุลชีววิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 3
สศจว๖๓๑ : สัมมนาการวิจัยขั้นสูงทางจุลชีววิทยาสาธารณสุข 1
สศจว๖๖๖ : ชีววิทยาของจุลชีพ 2
สศจว๖๖๗ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยสำหรับจุลชีววิทยาสาธารณสุข 2
สศจว๖๖๘ : จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกันเพื่องานสาธารณสุข 3
สศจว๗๐๑ : ทักษะการวิจัยทางจุลชีววิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 2
สศจว๗๑๔ : การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางจุลชีววิทยาต่อความมั่นคงสุขภาพโลก 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สศจว๖๒๔ : จุลชีววิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 3
สศจว๖๓๑ : สัมมนาการวิจัยขั้นสูงทางจุลชีววิทยาสาธารณสุข 1
สศจว๗๐๑ : ทักษะการวิจัยทางจุลชีววิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 2
สศจว๗๑๔ : การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางจุลชีววิทยาต่อความมั่นคงสุขภาพโลก 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
สศจว๖๐๒ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศจว๖๑๔ : การควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ 2
สศจว๖๑๗ : วิธีการทางห้องปฏิบัติการวิทยาภูมิคุ้มกันทางสาธารณสุข 2
สศจว๖๒๕ : วิธีการระดับโมเลกุลด้านโรคติดเชื้อ 2
สศจว๖๒๗ : วิทยาภูมิคุ้มกันของโรคติดเชื้อ 2
สศจว๖๓๔ : จุลชีววิทยาอาหารทางสาธารณสุขขั้นสูง 3
สศจว๖๓๖ : การเปลี่ยนแปลงของสารประกอบอินทรีย์โดยใช้จุลชีพ 2
สศจว๖๓๙ : ไวรัสวิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 2
สศจว๖๖๙ : การประยุกต์ชีวสารสนเทศทางจุลชีววิทยาสาธารณสุข 2
สศจว๗๐๒ : เทคนิคระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาสาธารณสุข 2
สศจว๗๑๐ : วิธีการทางห้องปฏิบัติการแบคทีเรียวิทยาทางสาธารณสุข 2
สศจว๗๑๑ : วิธีการทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยากันทางสาธารณสุข 2
สศจว๗๑๒ : แบคทีเรียวิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 2
สศจว๗๑๓ : วิทยาภูมิคุ้มกันสาธารณสุขขั้นสูง 2
สศอช๖๐๔ : การสาธารณสุขทั่วไป 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
สศจว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
สศจว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่