ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
เว็บไซต์ http://www.ra.mahidol.ac.th/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์)

จุดเด่นของหลักสูตร

หลักสูตรคลอบคลุมทุกสาขาวิชาทางด้านพยาธิวิทยาคลินิก เวชศาสตร์ชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ตลอดจนการบริหารห้องปฏิบัติการ และงานวิจัยในระดับสากล

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
วิทยานิพนธ์ 72            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน
หมวดวิชาบังคับ 17            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 7            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. A researcher in clinical pathology 2. A specialist in clinical pathology

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3

แบบ 2

   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
รมพธ๗๐๓ : แนวคิดทางพยาธิวิทยาคลินิก 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
รมพธ๖๐๒ : จีโนมิกและการแพทย์แม่นยำ 2
รมพธ๖๐๓ : เครื่องมือห้องปฏิบัติการ 1
รมพธ๖๐๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางพยาธิวิทยาคลินิก 2
รมพธ๗๐๑ : แนวโน้มและงานวิจัยทางพยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ 3
รมพธ๗๐๒ : สัมมนาทางพยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ 3
รมพธ๗๐๔ : หลักการทางพยาธิวิทยาคลินิก 4
รมพธ๗๐๕ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิวิทยาคลินิก 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
รมพธ๗๐๑ : แนวโน้มและงานวิจัยทางพยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ 3
รมพธ๗๐๒ : สัมมนาทางพยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
รมพธ๕๓๙ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์ 2
รมพธ๖๐๐ : ความรู้ทางภูมิคุ้มกันวิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๖๒๐ : หลุมพรางทางจุลชีววิทยาคลินิก 2
รมพธ๖๒๑ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาคลินิกขั้นสูง 2
รมพธ๖๒๘ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการเคมีคลินิกขั้นสูง 2
รมพธ๖๒๙ : การพัฒนาชุดตรวจระดับโมเลกุลและเทคนิคการตรวจวินิจฉัยขั้นสูงทางไวรัสวิทยา 2
รมพธ๖๓๐ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๖๓๓ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาขั้นสูง 3
รมพธ๖๓๔ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์การบริการโลหิตและพันธุศาสตร์ ภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
รมพธ๖๓๕ : เทคนิคทางภูมิคุ้มกันวินิจฉัยขั้นสูง 2
รมพธ๖๓๖ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๖๓๗ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการมนุษย์พันธุศาสตร์ขั้นสูง 2
รมพธ๖๓๘ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคลขั้นสูง 2
รมพธ๖๔๐ : การดำเนินการทางคลินิกของเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคล 2
รมพธ๖๔๓ : สารสนเทศทางยีโนม 2
รมพธ๖๔๖ : สัมมนาทางพิษวิทยา 2
รมพธ๖๕๑ : ความรู้ทางมะเร็งวิทยาระดับโมเลกุลขั้นสูง 2
รมพธ๖๕๒ : ทักษะปฏิบัติทางห้องปฏิบัติการพิษวิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๖๖๘ : ความรู้ทางเคมีคลินิกขั้นสูง 2
รมพธ๖๖๙ : ความรู้ทางไวรัสวิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๖๗๐ : ความรู้ทางมนุษย์พันธุศาสตร์ขั้นสูง 2
รมพธ๖๗๑ : ความรู้ทางเภสัชพันธุศาสตร์และการแพทย์เฉพาะบุคคลขั้นสูง 2
รมพธ๖๗๒ : ความรู้ทางโลหิตวิทยาขั้นสูง 3
รมพธ๖๘๗ : การวิเคราะห์และประยุกต์สารชีวภาพบ่งชี้ทางเคมีคลินิก 2
รมพธ๖๙๑ : ความรู้ทางพิษวิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๖๙๖ : ความรู้ทางจุลชีววิทยาขั้นสูง 2
รมพธ๗๔๑ : ความรู้ทางเวชศาสตร์การบริการโลหิตและพันธุศาสตร์ภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
รมพธ๘๐๑ : โรคติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ 2
รมพธ๘๐๒ : แนวทางห้องปฏิบัติการโรคติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราทางห้องปฏิบัติการแบบบูรณาการ 3
รมพธ๘๐๓ : โรคติดเชื้อปรสิตอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ 2
รมพธ๘๐๔ : โรคติดเชื้อไวรัสอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ 3
รมพธ๘๐๕ : ความสัมพันธ์ของข้อมูลทางจุลชีววิทยาและภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
รมพธ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
รมพธ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
รมพธ๘๙๙ : วิทยานิพนธ์ 72
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
รมพธ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร.ภก. ชลภัทร สุขเกษม
  3. ศาสตราจารย์ นพ. ธีรพงษ์ กระแจะจันทร์
  4. รองศาสตราจารย์ ดร.พญ. ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. ธีระพงศ์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. บุษบา ฤกษ์อำนวยโชค
  7. รองศาสตราจารย์ นพ. มงคล คุณากร
  8. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. ถกล เจริญศิริสุทธิกุล
  9. รองศาสตราจารย์ ดร. สรัญญา อุปรักขิตานนท์
  10. รองศาสตราจารย์ ดร. อัญชลี จิตธรรมมา
  11. รองศาสตราจารย์ พญ. พิมพรรณ กิจพ่อค้า
  12. รองศาสตราจารย์ พูนพิลาส หงษ์มณี
  13. รองศาสตราจารย์ ดร. พิทักษ์ สันตนิรันดร์
  14. รองศาสตราจารย์ ดร.พญ. พรเพ็ญ ศรีสวัสดิ์
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ. การันต์ ไพสุขศานติวัฒนา
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชญา พวงเพ็ชร์
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. อภิรมย์ วงศ์สกุลยานนท์
  18. อาจารย์ ดร. เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่