ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เคมี)

จุดเด่นของหลักสูตร


- Multi-disciplinary research
- Active research environment
- Student Scholarships

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 15            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 9            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

Graduates of the program can work in the following capacity: 1. Researchers in commercial sector and in academia; 2. Research scientists and advanced specialists in the government sector

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๗๐๑ : เคมีแนวหน้า 3
วทคม๗๐๒ : ความปลอดภัยทางเคมีและการจัดการความเสี่ยง 1
วทคม๗๐๓ : การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคม๗๐๙ : การใช้เครื่องมือที่ทันสมัย 3
วทคม๗๑๐ : แบบจำลองธุรกิจของอุตสาหกรรมเคมี 1
วทคม๘๘๗ : การพัฒนาโครงการการวิจัย ๒ 2
วทคม๘๘๘ : นวัตกรรมทางเคมี 3
วทคม๘๘๙ : สัมมนาทางเคมี ๒ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๘๘๗ : การพัฒนาโครงการการวิจัย ๒ 2
วทคม๘๘๘ : นวัตกรรมทางเคมี 3
วทคม๘๘๙ : สัมมนาทางเคมี ๒ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคม๗๑๑ : การหาโครงสร้างของสารอินทรีย์ 3
วทคม๗๑๒ : โครงสร้างและหน้าที่ระดับโมเลกุล 3
วทคม๗๑๓ : เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ขั้นสูง 3
วทคม๗๑๔ : กลไกปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ขั้นสูง 3
วทคม๗๑๕ : เคมีทางยาแนวหน้า 3
วทคม๗๑๖ : เคมีชีววิทยา 3
วทคม๗๑๗ : เคมีของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติขั้นสูง 3
วทคม๗๑๘ : การสังเคราะห์แบบอสมมาตร 3
วทคม๗๑๙ : เคมีของสารเฮเทอโรไซคลิกขั้นสูง 3
วทคม๗๒๐ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีอินทรีย์ 3
วทคม๗๓๑ : เทคนิคทางเคมีวิเคราะห์ขั้นสูง 3
วทคม๗๓๒ : ปฏิบัติการห้องทดลองการวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ 3
วทคม๗๓๓ : เทคนิคการแยก 3
วทคม๗๓๔ : เทคโนโลยีของไหลสำหรับศาสตร์วิเคราะห์ 3
วทคม๗๓๕ : เคโมเมตริกส์ 3
วทคม๗๓๘ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเคมีวิเคราะห์ 3
วทคม๗๓๙ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีวิเคราะห์ ๑ 3
วทคม๗๔๐ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีวิเคราะห์ ๒ 3
วทคม๗๕๓ : การเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์ 3
วทคม๗๕๔ : เคมีของโลหะแทรนซิชันอินทรีย์ 3
วทคม๗๕๖ : การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ 3
วทคม๗๕๗ : เคมีของสถานะของแข็ง 3
วทคม๗๕๘ : การกระตุ้นโมเลกุลเล็ก 3
วทคม๗๕๙ : การเร่งปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของโอเลฟิน 3
วทคม๗๖๐ : การแปรสภาพและการแยกผลิตภัณฑ์จากชีวมวล 3
วทคม๗๖๑ : การเร่งปฏิกิริยานาโน 3
วทคม๗๖๓ : โครงสร้างอนินทรีย์และพันธะเคมี 3
วทคม๗๖๔ : เทคนิคการพิสูจน์อัตลักษณ์ในเคมีอนินทรีย์ 3
วทคม๗๖๕ : เคมีของธาตุหมู่หลัก 3
วทคม๗๖๖ : กลไกปฏิกิริยาอนินทรีย์ 3
วทคม๗๖๗ : เอ็นเอ็มอาร์ สเปกโตรสโกปีสำหรับเคมีอนินทรีย์ 3
วทคม๗๖๘ : หัวข้อพิเศษทางเคมีอนินทรีย์ 3
วทคม๗๗๑ : เคมีควอนตัม 3
วทคม๗๗๒ : อุณหพลศาสตร์และกลศาสตร์เชิงสถิติ 3
วทคม๗๗๔ : จลนพลศาสตร์เคมีและพลศาสตร์โมเลกุล 3
วทคม๗๗๕ : ฟิสิกส์เชิงเคมีแผนใหม่ 3
วทคม๗๗๖ : วิธีทางคณิตศาสตร์ 3
วทคม๗๗๘ : เทคนิคทางเคมีเชิงฟิสิกส์ 3
วทคม๗๗๙ : เคมีพื้นผิวและเคมีไฟฟ้าขั้นสูง 3
วทคม๗๘๐ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเคมีเชิงฟิสิกส์ 3
วทคม๗๘๑ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางฟิสิกส์เชิงเคมี 3
วทคม๗๘๕ : เคมีเชิงฟิสิกส์ขั้นสูง 3
วทคม๘๐๑ : วัสดุเชิงสิ่งแวดล้อม 3
วทคม๘๐๒ : เคมีเชิงลิกโนเซลลูโลส 3
วทคม๘๐๓ : เคมีของกากของเสียและมลพิษ 3
วทคม๘๐๔ : หลักการความยั่งยืน 3
วทคม๘๐๕ : เส้นใยธรรมชาติ 3
วทคม๘๐๖ : เคมีเชิงอุตสาหกรรม 3
วทคม๘๒๑ : เคมีของสารโมเลกุลเล็ก 3
วทคม๘๒๒ : วัสดุอนินทรีย์ 3
วทคม๘๒๓ : เคมีซุปราและสารประกอบแมคโครไซคลิก 3
วทคม๘๒๔ : สีย้อม พอลิเมอร์ และวัสดุเชิงฟังก์ชันขั้นสูง 3
วทคม๘๒๕ : เคมีชีวอนินทรีย์ 3
วทคม๘๔๑ : เทคโนโลยีก้าวหน้าสำหรับเศรษฐกิจชีวภาพ หมุนเวียน สีเขียว 3
วทคม๘๔๒ : การออกแบบตัวเร่งปฏิกิริยาและวัสดุด้วยการคำนวณ 3
วทคม๘๔๓ : กลยุทธ์ในการทำธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการ 3
วทคม๘๔๔ : การผันแปรดิจิตัลสำหรับผู้ประกอบการ 3
วทคม๘๔๕ : การออกแบบการเรียนรู้ในห้องเรียนวิชาเคมี 3
วทคม๘๔๖ : การแปลงเป็นดิจิตัล การย่อขนาด การผลิตขั้นสูง สำหรับห้องเรียนวิชาเคมี 3
วทคม๘๔๗ : อภิจักรวาลในห้องเรียนวิชาเคมี 3
วทคม๘๔๘ : การคำนวณควอนตัมเชิงเอ็นเอ็มอาร์ 3
วทคม๘๔๙ : หุ่นยนต์นักเคมี 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. เอกสิทธิ์ สมสุข   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร
  3. ศาสตราจารย์ ดร. ศิวพร มีจู สมิธ
  4. ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา คูหากาญจน์
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. พสิษฐ์ ภควัชร์ภาณุรัตน์
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. พลังพล คงเสรี
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. เทียนทอง ทองพันชั่ง
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. ดรุณี สู้รักรัมย์
  9. รองศาสตราจารย์ ดร. ปรียานุช แสงไตรรัตน์นุกูล
  10. รองศาสตราจารย์ ดร. รัตติกาล จันทิวาสน์
  11. รองศาสตราจารย์ ดร. จงกล ตันติรุ่งโรจน์ชัย
  12. รองศาสตราจารย์ ดร. อทิตยา ศิริภิญญานนท์
  13. รองศาสตราจารย์ ดร. ดวงใจ นาคะปรีชา
  14. รองศาสตราจารย์ ดร. ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย
  15. รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริลตา ยศแผ่น
  16. รองศาสตราจารย์ ดร. พนิดา สุรวัฒนาวงศ์
  17. รองศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา อุไรสินธว์
  18. รองศาสตราจารย์ ดร. สุภาวดี เกียรติเสวี
  19. รองศาสตราจารย์ ดร. ธันฐภัทร์ บุญช่วย
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พูนทวี แซ่เตีย
  21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุอาวี เอกะวิภาต
  22. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา เจียรพินิจนันท์
  23. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โศรยา พรสุวรรณ
  24. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ต่อศักดิ์ ล้วนไพศาลนนท์
  25. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นพพร เรืองสุภาภิชาติ
  26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปวเรศร์ เหลียววนวัฒน์
  27. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีรา ฉันทโรจน์ศิริ
  28. อาจารย์ ดร. เขตภากร ชาครเวท

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่