ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีววิทยา)

จุดเด่นของหลักสูตร


- All qualified students will obtain scholarship for the first year.
- The graduates can apply for job in both government and private sectors.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
วิทยานิพนธ์ 72            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Researchers and specialists in biology in government, private sectors, and non-profit organizations 2. Specialists in biology in middle and high schools, and institutes of higher education

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทชว๘๙๙ : วิทยานิพนธ์ 72
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทชว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทชว๕๘๕ : แนวโน้มและความก้าวหน้าทางชีววิทยา 3
วทชว๕๘๖ : การจัดระบบทางชีววิทยา 3
วทชว๕๘๗ : นิเวศวิทยาและชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ 3
วทชว๖๐๙ : พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล 3
วทชว๖๑๖ : ชีววิทยาเชิงบูรณาการสำหรับงานวิจัยแนวหน้า 2
วทชว๖๑๘ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางชีววิทยา 2
วทชว๖๔๑ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยาขั้นสูง 1
วทชว๖๔๒ : สัมมนาการวิจัยดุษฎีบัณฑิตทางชีววิทยา 1
วทชว๖๔๓ : สัมมนาการวิจัยดุษฎีบัณฑิตทางชีววิทยาขั้นสูง 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทชว๖๑๖ : ชีววิทยาเชิงบูรณาการสำหรับงานวิจัยแนวหน้า 2
วทชว๖๑๘ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูงทางชีววิทยา 2
วทชว๖๔๐ : สัมมนาการวิจัยทางชีววิทยา 1
วทชว๖๔๒ : สัมมนาการวิจัยดุษฎีบัณฑิตทางชีววิทยา 1
วทชว๖๔๓ : สัมมนาการวิจัยดุษฎีบัณฑิตทางชีววิทยาขั้นสูง 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทชว๕๐๑ : กีฏวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทชว๕๐๒ : กีฏวิทยาทางการแพทย์ 3
วทชว๕๐๖ : อนุกรมวิธานของแมลง 3
วทชว๕๓๐ : ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ 3
วทชว๕๓๒ : หลักชีววิทยาเชิงสังคม 3
วทชว๕๓๙ : เทคนิคการวิจัยทางนิเวศวิทยาและการอนุรักษ์ 2
วทชว๕๔๕ : เซลล์พันธุศาสตร์ 3
วทชว๕๔๖ : พันธุศาสตร์เชิงประชากรและเชิงนิเวศ 3
วทชว๕๘๑ : ปัญหาพิเศษทางชีววิทยา 2
วทชว๕๘๙ : สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทางเศรษฐกิจ 3
วทชว๕๙๔ : เทคนิคการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพขั้นสูง 2
วทชว๖๐๗ : พันธุศาสตร์เชิงวิวัฒนาการ 3
วทชว๖๑๗ : การออกแบบปฏิบัติการชีววิทยาและการสาธิต 1
วทชว๖๓๗ : นิเวศวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทชว๖๔๔ : เศรษฐกิจชีวภาพ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทชว๕๐๑ : กีฏวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทชว๕๐๒ : กีฏวิทยาทางการแพทย์ 3
วทชว๕๐๖ : อนุกรมวิธานของแมลง 3
วทชว๕๓๒ : หลักชีววิทยาเชิงสังคม 3
วทชว๕๔๕ : เซลล์พันธุศาสตร์ 3
วทชว๕๔๖ : พันธุศาสตร์เชิงประชากรและเชิงนิเวศ 3
วทชว๕๘๑ : ปัญหาพิเศษทางชีววิทยา 2
วทชว๕๘๙ : สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทางเศรษฐกิจ 3
วทชว๕๙๔ : เทคนิคการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพขั้นสูง 2
วทชว๖๐๗ : พันธุศาสตร์เชิงวิวัฒนาการ 3
วทชว๖๑๗ : การออกแบบปฏิบัติการชีววิทยาและการสาธิต 1
วทชว๖๓๗ : นิเวศวิทยาระดับโมเลกุล 3
วทชว๖๔๔ : เศรษฐกิจชีวภาพ 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทชว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทชว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย จิรัฏฐิติกุล   (ประธานหลักสูตร)
  2. รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี อหันทริก
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. วัชรีพร ตฤณชาติวณิชย์
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. เจนจิต คูดำรงสวัสดิ์
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. พรินท์พิดา สนธิพันธ์
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. ปฐมพงษ์ แสงวิไล
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ป๋วย อุ่นใจ
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภริณดา ทยานุกูล
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชลิตา คงฤทธิ์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อลิสา ดำเนินสวัสดิ์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิรวิทย์ สิตปรีชา
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พฤษท์ หาญวรวงศ์ชัย
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธา มีแต้ม
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลพร บุณยะเวศ
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินันท์ สำราญวานิช
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อินทนนท์ กลศาสตร์เสนี
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุพีชา คุ้มเกตุ
  19. อาจารย์ ดร. วรุฒ ศิริวุฒิ
  20. อาจารย์ ดร. นภัทร รัตน์นราทร
  21. อาจารย์ ดร. เติมทิพย์ พูลภักตร์
  22. อาจารย์ ดร. พหล โกสิยะจินดา

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่