ข้อมูลหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม)

จุดเด่นของหลักสูตร


- Several types of Scholarships are available for eligible students.
- The graduates can apply for job in both government and private sectors.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๑
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต
แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Researchers, technologists, or specialists in bioresources and environmental biology in governmental agencies, private sectors, and non-profit organizations 2. Specialists in bioresources and environmental biology in schools or institutes of higher education 3. Business owners and entrepreneurs

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทชว๕๘๘ : ทรัพยากรชีวภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อม 3
วทชว๖๑๙ : วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3
วทชว๖๕๐ : สัมมนาการวิจัยทางทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม 1
วทชว๖๕๑ : สัมมนาการวิจัยทางทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อมขั้นสูง 1
วทชว๖๕๕ : เทคนิคการวิจยทางทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทชว๕๐๕ : นิเวศวิทยาของประชากรและชุมชน 3
วทชว๕๑๙ : นิเวศวิทยาจุลินทรีย์ 3
วทชว๕๒๐ : ชีววิทยาการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 3
วทชว๕๒๕ : แนวทางการแก้ปัญหาด้วยวิธีทางโมเลกุลในชีววิทยาสภาวะแวดล้อม 2
วทชว๕๘๔ : การตอบสนองของพืชต่อความเครียดในสิ่งแวดล้อม 3
วทชว๕๘๙ : สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทางเศรษฐกิจ 3
วทชว๕๙๐ : นวัตกรรมและการใช้ประโยชน์ทางการค้าจากทรัพยากรชีวภาพ 3
วทชว๕๙๑ : การบำบัดน้ำและน้ำเสีย 3
วทชว๕๙๒ : ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางสิ่งแวดล้อม 1
วทชว๕๙๓ : การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3
วทชว๖๕๒ : ปัญหาพิเศษทางทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม 2
วทชว๖๕๓ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางทรัพยากรชีวภาพและชีววิทยาสภาวะแวดล้อม 2
วทชว๖๕๔ : มลพิษสิ่งแวดล้อมและกากของเสียอันตราย 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทชว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12
วทชว๗๙๘ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชลิตา คงฤทธิ์   (ประธานหลักสูตร)
  2. รองศาสตราจารย์ ดร. อรุณี อหันทริก
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. วัชรีพร ตฤณชาติวณิชย์
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. สุรางค์ ชาญกำแหงเดชา
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. เจนจิต คูดำรงสวัสดิ์
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. พรินท์พิดา สนธิพันธ์
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. เอกชัย จิรัฏฐิติกุล
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. ปฐมพงษ์ แสงวิไล
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ป๋วย อุ่นใจ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภริณดา ทยานุกูล
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อลิสา ดำเนินสวัสดิ์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิรวิทย์ สิตปรีชา
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พฤษท์ หาญวรวงศ์ชัย
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เมธา มีแต้ม
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลพร บุณยะเวศ
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินันท์ สำราญวานิช
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อินทนนท์ กลศาสตร์เสนี
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุพีชา คุ้มเกตุ
  19. อาจารย์ ดร. วรุฒ ศิริวุฒิ
  20. อาจารย์ ดร. นภัทร รัตน์นราทร
  21. อาจารย์ ดร. เติมทิพย์ พูลภักตร์
  22. อาจารย์ ดร. พหล โกสิยะจินดา

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่