ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน)

จุดเด่นของหลักสูตร

The high quality and excellence of the programme is evidenced by the high number of publications published by staff members in international journals.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
วิทยานิพนธ์ 72            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 8            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 17            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 7            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. A scientific researcher in the fields of Microbiology and Immunology 2. A specialist or consultant in life sciences-, biomedicine-, microbiology- and immunology-related companies 3. An expert in the fields of Microbiology and Immunology

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทจว๖๒๙ : สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
วทจว๖๓๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทจว๖๓๑ : สัมมนาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทจว๖๒๙ : สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
วทจว๖๓๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทจว๖๓๑ : สัมมนาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทจว๘๙๙ : วิทยานิพนธ์ 72
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทจว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทจว๕๑๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยา 1
วทจว๕๑๘ : จุลชีววิทยา 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทจว๕๑๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยา 1
วทจว๕๑๘ : จุลชีววิทยา 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทจว๕๑๔ : ภูมิคุ้มกันวิทยา 1
วทจว๕๑๘ : จุลชีววิทยา 3
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทจว๖๐๕ : พันธุศาสตร์ของจุลชีพ 3
วทจว๖๒๔ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทจว๖๒๙ : สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
วทจว๖๓๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทจว๖๓๑ : สัมมนาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทจว๖๐๒ : วิทยาภูมิคุ้มกันขั้นสูง 3
วทจว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาขั้นสูง 3
วทจว๖๐๔ : วิทยาไวรัสขั้นสูง 3
วทจว๖๐๕ : พันธุศาสตร์ของจุลชีพ 3
วทจว๖๒๙ : สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
วทจว๖๓๐ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทจว๕๑๑ : จุลชีววิทยาระดับโมเลกุล 3
วทจว๕๑๒ : การวิเคราะห์ลำดับโมเลกุล 2
วทจว๕๒๐ : หลักการพื้นฐานการวิเคราะห์ลำดับโมเลกุล 1
วทจว๖๐๑ : การฝึกประสบการณ์การวิจัยเชิงประยุกต์ 2
วทจว๖๒๖ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทจว๕๒๐ : หลักการพื้นฐานการวิเคราะห์ลำดับโมเลกุล 1
วทจว๖๐๑ : การฝึกประสบการณ์การวิจัยเชิงประยุกต์ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทจว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทจว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ พญ. อรุณี ธิติธัญญานนท์   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ นพ. ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์
  3. ศาสตราจารย์ ดร. ศุขธิดา อุบล
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. โสรยา จาตุรงคกุล
  5. รองศาสตราจารย์ ดร.พญ. พรพรรณ มาตังคสมบัติ ชูพงษ์
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. มาริสา พลพวก
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. ภากร เอี้ยวสกุล
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรเดช ศิริพัฒนพิพงษ์
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Dr. Fabien Xavier Loison
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัมพา สุขสาธุ
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิสุทธิ์ พงษ์ชัยกุล
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิมพ์วรา วัชราทิตย์
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผดุงศรี ดับส์
  14. อาจารย์ ดร. ชาติชาย แจ้งเสน
  15. อาจารย์ ดร. ทิพย์รำไพ ธรรมมงกุฎ
  16. อาจารย์ ดร. ธน เตชะเลิศไพศาล
  17. อาจารย์ ดร. วรดล สังข์นาค
  18. อาจารย์ ดร. อัครพล วัชราวิภาส
  19. อาจารย์ ดร. รดีกร อัครวงศาพัฒน์

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่