ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาการแพทย์และโมเลกุล (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาการแพทย์และโมเลกุล (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
เว็บไซต์ http://www.si.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(จุลชีววิทยาการแพทย์และโมเลกุล)

จุดเด่นของหลักสูตร

The Department of Microbiology at the Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University, has been considered to be one of the best medical microbiology departments in Thailand. There are 17 full-time faculty members with Ph.D. degree with research grants awarded form international and national agencies. The faculty members conduct highly impact research on clinical and molecular- related microbiology especially on emerging infectious pathogens including HIV/AIDS, influenza andavian influenza virus, enterviruses, mycobacteria, leptosiposis, Burkholderlia pseudomallei, drug resistant bacteria, etc. The cluster in bacteriology, mycology and virology provides an outstanding training environment and emphasizes research opportunities in cutting-edge molecular techniques, in a wide-range of fields. There are for research laboratories with well-equipped for molecular and clinical microbiology laboratories, approximately 70 graduate students, 20 researcher scientists (Ph.D. and M.Sc. degree), and 56 technicians in the department. Thus, it is not only large enough to provide a stimulating research environment but also small enough to allow close interactions between the faculty members and graduate students. All qualified graduate students will be able to receive a scholarship from the Faculty of Medicine. After graduation, they will gain such experience in medical microbiology research, which is highly needed by various organizations, private companies, research institutes and academic institutions. Thus, they will have a good opportunity for their career development. Plan 1 of training offers the Ph.D. training opportunity for the infectious disease professionals or experienced microbiologists who wish to advance their microbiology knowledge and develop advance research skill. The plan features research-oriented training with no course work required

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๑.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
วิทยานิพนธ์ 72            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 19            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Scientist, researcher, academic specialists who must apply knowledge of medical microbiology in practice 2. Academian, or head of microbiology laboratory in research institute 3. The other careers requiring knowledge of microbiology such as research project analyst

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรจว๘๙๙ : วิทยานิพนธ์ 72
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรจว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรจว๕๐๑ : หลักวิทยาแบคทีเรียและราทางการแพทย์ 2
ศรจว๕๐๒ : หลักวิทยาไวรัสทางการแพทย์ 1
ศรจว๕๐๓ : จุลชีพก่อโรค 1
ศรจว๖๐๗ : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ขั้นสูง 3
ศรจว๖๑๑ : เทคนิคระดับโมเลกุลด้านจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๑๖ : จุลชีววิทยาวินิจฉัย 3
ศรจว๖๓๐ : ระเบียบวิธีวิจัยและการประเมินเชิงวิพากษ์งานวิจัยทางจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๙๐ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางจุลชีววิทยาและโมเลกุลทางการแพทย์ 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรจว๖๓๐ : ระเบียบวิธีวิจัยและการประเมินเชิงวิพากษ์งานวิจัยทางจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๙๐ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางจุลชีววิทยาและโมเลกุลทางการแพทย์ 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรจว๕๐๖ : ระเบียบวิธีวิจัยในจุลชีววิทยาทางการแพทย์ 1
ศรจว๖๐๑ : การหลีกเลี่ยงระบบภูมิคุ้มกันและพยาธิสภาพของระบบภูมิคุ้มกันของโรคติดเชื้อไวรัส 1
ศรจว๖๐๒ : ไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะ 1
ศรจว๖๐๓ : โรคติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ 1
ศรจว๖๐๔ : โรคติดเชื้อไวรัสในระบบประสาท 1
ศรจว๖๐๕ : ไวรัสก่อมะเร็ง 1
ศรจว๖๐๖ : วัคซีนสำหรับโรคติดเชื้อไวรัส 1
ศรจว๖๑๐ : การทดสอบเกี่ยวกับไวรัสในเซลล์เพาะเลี้ยง 1
ศรจว๖๑๒ : กลไกการควบคุมการแสดงออกของยีนโฮสต์โดยไวรัส 1
ศรจว๖๑๓ : ชีวสารสนเทศและชีวโมเลกุลของไวรัสวิทยาเชิงคอมพิวเตอร์ 1
ศรจว๖๑๔ : การประยุกต์ระบาดวิทยาระดับโมเลกุลในโรคติดเชื้อไวรัส 1
ศรจว๖๑๕ : การประยุกต์การจำแนกโมเลกุลกับโรคที่เกิดจากการติดเชื้อรา 1
ศรจว๖๑๗ : การประยุกต์การจำแนกโมเลกุลกับโรคที่เกิดจากการติดเชื้อมัยโคแบคทีเรีย 1
ศรจว๖๑๘ : เทคนิคระดับโมเลกุลขั้นสูงทางจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๑๙ : วิทยาศาสตร์วัคซีน 2
ศรจว๖๒๒ : วิทยาราทางสิ่งแวดล้อม 1
ศรจว๖๒๓ : ความปลอดภัยทางชีวภาพในงานวิจัยจุลชีววิทยาการแพทย์ 1
ศรจว๖๒๔ : การประยุกต์วิธีทางโมเลกุลในงานวิจัยจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๒๕ : การพัฒนาโครงร่างงานวิจัยในงานจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๒๖ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางการวิจัยไวรัส 1
ศรจว๖๒๗ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางการวิจัยแบคทีเรีย 1
ศรจว๖๒๘ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางการวิจัยเชื้อราและมัยโคแบคทีเรีย 1
ศรจว๖๒๙ : การทดสอบทางภูมิคุ้มกันเพื่องานวิจัยทางวิทยาไวรัส 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรจว๖๐๑ : การหลีกเลี่ยงระบบภูมิคุ้มกันและพยาธิสภาพของระบบภูมิคุ้มกันของโรคติดเชื้อไวรัส 1
ศรจว๖๐๒ : ไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะ 1
ศรจว๖๐๓ : โรคติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ 1
ศรจว๖๐๔ : โรคติดเชื้อไวรัสในระบบประสาท 1
ศรจว๖๐๕ : ไวรัสก่อมะเร็ง 1
ศรจว๖๐๖ : วัคซีนสำหรับโรคติดเชื้อไวรัส 1
ศรจว๖๑๐ : การทดสอบเกี่ยวกับไวรัสในเซลล์เพาะเลี้ยง 1
ศรจว๖๑๒ : กลไกการควบคุมการแสดงออกของยีนโฮสต์โดยไวรัส 1
ศรจว๖๑๔ : การประยุกต์ระบาดวิทยาระดับโมเลกุลในโรคติดเชื้อไวรัส 1
ศรจว๖๑๘ : เทคนิคระดับโมเลกุลขั้นสูงทางจุลชีววิทยาการแพทย์ 3
ศรจว๖๑๙ : วิทยาศาสตร์วัคซีน 2
ศรจว๖๒๙ : การทดสอบทางภูมิคุ้มกันเพื่องานวิจัยทางวิทยาไวรัส 1
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรจว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรจว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมล สุวรรณการ   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร.นพ. ประเสริฐ เอื้อวรากุล
  3. ศาสตราจารย์ ดร.พญ. รวงผึ้ง สุทเธนทร์
  4. ศาสตราจารย์ ดร. วรรณี กัณฐกมาลากุล
  5. ศาสตราจารย์ ดร.นพ. ภัทรชัย กีรติสิน
  6. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. นาวิน ห่อทองคำ
  8. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. พบชัย งามสกุลรุ่งโรจน์
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. จตุรงค์ เสวตานนท์
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พญ. ชุติกาญจน์ ชัยมาโย
  12. อาจารย์ ดร. พิริยาภรณ์ จงตระกูล
  13. อาจารย์ ดร. ภูมิ ชัยรัตน์
  14. อาจารย์ ดร.พญ. วิชชุดา กมลวิทย์
  15. อาจารย์ ดร. สุภาเทพ ตัณศิริชัยยา

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่