อาจารย์ / เจ้าหน้าที่ แนะนำหลักสูตรบัณฑิตศึกษา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)

ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคปกติและภาคพิเศษ)
MASTER OF ENGINEERING PROGRAM IN INDUSTRIAL ENGINEERING
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ ศรีตระกูลชัย
Image Description
อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ ศรีตระกูลชัย

"พัฒนามหาบัณฑิตของหลักสูตร ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีคุณธรรม มีจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรู้และความชำนาญในเชิงปฏิบัติ สามารถวิเคราะห์ ประยุกต์ และผสมผสานวิทยาการ และเทคโนโลยีที่หลากหลายของวิศวกรรมอุตสาหการทั้งในแบบดั้งเดิมและแบบสมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการวิจัย พัฒนา ประยุกต์ และแก้ปัญหาทางธุรกิจและอุตสาหกรรมได้อย่างแท้จริง"

จุดเด่นของหลักสูตร

  • ผลิตมหาบัณฑิตเพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมและวิชาการ

  • บูรณาการศาสตร์ทางวิศวกรรมอุตสาหการในการจัดการผลิตและอุตสาหกรรม

  • จัดการเรียนการสอนแบบเน้นนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้

  • มีความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาไปต่างประเทศ

  • มีทุนสนับสนุนการวิจัยสำหรับนักศึกษา

  • มีการยกระดับทักษะด้านภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา

  • มีศูนย์บริการอุตสาหกรรม และโครงการเครือข่ายนักวิจัยไทย ด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภายใต้สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)

Image Description

โครงสร้างหลักสูตร (จำนวนหน่วยกิต)

  • ภาคปกติ : จัดการเรียนการสอนในวัน – เวลาราชการ

  • ภาคพิเศษ : จัดการเรียนการสอน นอกเวลาราชการ

รายการ แผน ก แบบ ก 2 แผน ข
หมวดวิชาบังคับ 15 15
หมวดวิชาเลือก 9 15
วิทยานิพนธ์ 12 -
สารนิพนธ์ - 6
รวม 36 36

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต, วิทยาศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรองโดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือ

  • สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาอื่น จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 และมีประสบการณ์ในสายวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมอุตสาหการไม่ต่ำกว่า 3 ปี

  • มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล (ผลสอบต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่สมัคร)

    รายการ ระดับคะแนน
    IELTS ที่ระดับ 3 คะแนนขึ้นไป หรือ
    TOEFL-iBT ที่ระดับ 32 คะแนนขึ้นไป หรือ
    TOEFL-LTP (เฉพาะที่จัดสอบโดยบัณฑิตวิทยาลัย) ที่คะแนนระดับ 400 ขึ้นไป หรือ
    MU GRAD TEST (Computer-Based) ที่ระดับคะแนน 36 ขึ้นไป
  • ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

Image Description
Image Description

ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

โครงการสัมนา โครงการฝึกอบรม อาทิ

  • Lean Manufacturing

  • Six sigma

  • Research methodology

  • Publication the research paper

  • Research Ethics

  • Transportation (Railways, Airways)

โครงการศึกษาดูงาน อาทิ

  • บริษัท โอทีซี ไดเฮ็น เอเซีย จำกัด

  • บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จำกัด

  • บริษัท ไทยเมทัลโปรดักส์อินดัสตรีย์ จำกัด

  • บริษัท สยามคิโต้ จำกัด

  • บริษัท ไทรอัมพ์ เอวิเอชั่น เซอร์วิสเซส เอเชีย จำกัด

  • บริษัท เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน)

  • บริษัท เอพีแอล โลจิสติคส์ เอสวีซีเอส (ประเทศไทย) จำกัด

  • ศูนย์กระจายสินค้า บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน)

  • โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน

  • บริษัท เอ็ม-เวิลด์ โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด

  • บริษัท เนชั่นแนล เฮลท์แคร์ ซิสเท็มส์ จำกัด

  • The United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP) กรุงเทพฯ

  • การรถไฟแห่งประเทศไทย (ส่วนโรงงานมักกะสัน)

  • บริษัทโชคนำชัย ออโต้เพรสซิ่ง จำกัด

  • บริษัท ซิลลิคฟาร์มา จำกัด

  • สำนักงานสวนจิตรลดา โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา

  • บริษัท ฮัทชิสัน พอร์ท (ประเทศไทย) จำกัด

  • สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

  • ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

  • โครงการ Magnolias Ratchadamri Boulevard

  • ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

  • IKEA ประเทศไทย

  • ศูนย์อุตสาหกรรมอิตาเลียนไทย

  • ศูนย์การเรียนรู้ตันแลนด์ ดินแดนแห่งความสมดุล

ตัวอย่างหัวข้อวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา

  • DESIGN AND IMPLEMENTATION OF AUTOMATION FOR PLANT UNRSERY PROCESS TIME REDUCTION

  • LEAN APPLICATION IN A JOB SHOP : A CASE STUDY OF TYRE MOLD PLANT

  • PERFORMANCE MEASUREMENT OF MEDICAL WAREHOUSE DEPARTMENT BY FUZZY ANALYTICAL HIERARCHY PROCESS (FAHP)

  • A STUDY OF THE HYBRID MODEL PERFORMANCE FOR TIME SERIES FORECASTING

  • MASS TRANSIT TIMETABLE MODELING AND EVALUATION

  • THE IMPACT OF THE BUFFER SIZE CAPACITY AND DISPATCHING RULES IN A STOCHASTIC DYNAMIC JOB SHOP

  • COST REDUCTION GUIDELING FOR MEDICAL EQUIPMENT CALIBRATION SERVICES

  • AIRPORT EFFICIENCY MODEL USING DATA ENVELOPMENT ANALYSIS (DEA)

  • THE DEVELOPMENT OF AN APPROPRIATE QUALITY ASSURANCE SYSTEM FOR THE U-SHAPED PLASTIC BAG PROCESS

  • THE APPLICATION OF SIX SIGMA IN QUALITY MANGEMENT TO IMPROVE PLASTIC BAG PRODUCTION

  • SEMI-SKILLED WORKER SELECTION IN LABOR-INTENSIVE INDUSTRY

  • SINGLE WORKER SCHEDULING FOR MULTI-ASSEMBLY JOBS WITH PREEMPTION: A CASE STUDY OF A GARMENT SAMPLEROOM

  • A COMPARISON OF PROCESS-BASED AND OBJECT-BASED SIMULATION : A CASE STUDY OF HOSPITAL SERCICE

  • DEMAND FORECASTING FOR EXPORT AND IMPORT WAREHOUSE BY USING ARTIFICIAL NEURAL NETWORK: A CASE STUDY OF PHAMARCEUTICAL WAREHOUSE

  • HOSPITAL WAREHOUSE AND INVENTORY MANAGEMENT: A CASE STUDY OF VMI IMPLEMENTATION

  • PERFORMANCE MEASUREMENT IN THE HEALTHCARE SUPPLY CHAIN

  • DEVELOPING INVENTORY MANAGEMENT IN HOSPITAL

  • A TWO-STAGE VALUE CHAIN DEA APPLICATION TO ASSESS PERFORMANCE MEASUREMENT OF COMMERCIAL BANK IN CAMBODIA

  • STUDY ON APPLICATION OF MICROSOFT EXCEL SOLVER STANDARD EDITION FOR LEAST COST PIG FEED FORMULATION

  • FUZZY FMEA APPLICATION TO IMPROVE DECISION MAKING PROCESS IN AN EMERGENCY DEPARTMENT: A CASE STUDY OF RAJBURI HOSPITAL

  • TASK AND WORKER ASSIGNMENT IN THE SHARED-MACHINE U-SHAPED ASSEMBLY LINE

  • APPLICATION OF MULTI-CRITERIA DECISION MAKING USING FUZZY-TOPSIS IN DRUG DISTRIBUTION CENTER LOCATION SELECTION

  • 3D RECONSTRUCTION METHODLOGY FOR INDUSTRIAL APPLICATIONS USING KINECT

  • THE APPLICATION OF LEAN AND SIX SIGMA IN HOSPITAL PHARACY DEPARTMENT : A CASE STUDY IN THAILAND

  • E-READINESS ASSESSMENT FOR BARCODE TECHNOLOGY IMPLEMENTATION IN PHARMACEUTICAL DEPARTMENT IN THAI HOSPITALS

  • SUPLIER SELECTION IN TEXTILE INDUSTRY USING FUZZY ANALYTIC NETWORK PROCESS

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  • วิศวกรอุตสาหการ

  • นักวิจัยด้านวิศวกรรมอุตสาหการ

  • ผู้ให้คำปรึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์และบริหารจัดการ

  • ผู้ปฎิบัติงานในองค์กร ภาครัฐ และภาคเอกชน

  • ผู้ประกอบอาชีพตามสถานประกอบการด้านกลยุทธ์โลจิสติกส์ รวมถึงการจัดการคลังสินค้า การขนส่ง การกระจายสินค้า การวางแผนการผลิต การจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น

ผู้สนใจเข้าศึกษา สามารถดูรายละเอียดหลักสูตรได้ที่

หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

งานวิเทศสัมพันธ์ สื่อสารองค์กรและภารกิจพิเศษ และงานรับนักศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
โทรศัพท์ : 02 441 4125 ต่อ 131-137
โทรศัพท์ : 02 441 4125 ต่อ 112-115
อีเมล : panee.nus@mahidol.ac.th

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่