ผู้สนใจเข้าศึกษา ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวการออกแบบทางการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวการออกแบบทางการแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะเทคนิคการแพทย์
เว็บไซต์ https://www.si.mahidol.ac.th/th/department/parasitology/

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีวการออกแบบทางการแพทย์)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 8            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 22            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 2            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Medical product inventor or innovator at research institutes, government sectors and industrial organizations 2. Researchers/academic staff in biodesign of medical products at research institutes, government sectors and industrial organizations 3. Entrepreneur/Business owners in biomedicine

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
กจกจ๕๖๒ : การวางแผนธุรกิจขั้นแนะนำ 3
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
ศรชอ๕๐๑ : ชีวเวชศาสตร์เพื่อชีวการออกแบบ 3
ศรชอ๕๐๒ : ชีวการออกแบบทางการแพทย์ 1
ศรชอ๕๐๓ : ทักษะทางห้องปฏิบัติการสำหรับชีวการออกแบบ 2
ศรชอ๕๐๔ : ชีวการออกแบบรวบยอด 2
ศรชอ๖๐๑ : ชีวการออกแบบเชิงบูรณาการทางการแพทย์ 3
ศรชอ๖๐๒ : เทคโนโลยีล้ำสมัยเพื่อชีวการออกแบบรวบยอด 3
ศรชอ๖๐๓ : ทักษะขั้นสูงการเป็นผู้ประกอบด้านชีวการออกแบบ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรชอ๖๐๑ : ชีวการออกแบบเชิงบูรณาการทางการแพทย์ 3
ศรชอ๖๐๒ : เทคโนโลยีล้ำสมัยเพื่อชีวการออกแบบรวบยอด 3
ศรชอ๖๐๓ : ทักษะขั้นสูงการเป็นผู้ประกอบด้านชีวการออกแบบ 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
ทนคค๖๑๓ : ไบโอเซนเซอร์ทางเคมีคลินิก 1
ทนคร๖๐๘ : เทคโนโลยีทางการตรวจวินิจฉัยในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต 2
วศชพ๖๓๔ : ชีววัสดุและความเข้ากันได้ทางชีววิทยา 3
ศรชว๕๐๖ : ระเบียบวิธีวิจัยทางชีวการออกแบบทางการแพทย์ 2
ศรชว๕๑๔ : เวชศาสตร์การเจริญทดแทน 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรชอ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรชอ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ศาสตราจารย์ ดร.พญ. อัญชลี ตั้งตรงจิตร
  2. ศาสตราจารย์ ดร. สิริจิต วงศ์กำชัย
  3. ศาสตราจารย์ นพ. วรพงษ์ มนัสเกียรติ
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. เกษม กุลแก้ว
  5. รองศาสตราจารย์ พญ. ดาราวรรณ วนะชิวนาวิน
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. อังกูรา สุโภคเวช
  7. รองศาสตราจารย์ นพ. อนุภพ จิตต์เมือง
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์
  9. รองศาสตราจารย์ ดร. กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น
  10. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ. เปรมฤทัย ธิติเลิศเดชา
  11. รองศาสตราจารย์ ดร. เบญจพร เลิศอนันตวงศ์
  12. รองศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์
  13. รองศาสตราจารย์ ดร. วัชระ ชุ่มบัวตอง
  14. รองศาสตราจารย์ ดร. นิทัศน์ สุขรุ่ง
  15. รองศาสตราจารย์ ดร. ปัณรสี ฤทธิประวัติ
  16. รองศาสตราจารย์ ดร. อมรา อภิลักษณ์
  17. รองศาสตราจารย์ ดร.น.สพ. ปณัฐ อนุรักษ์ปรีดา
  18. รองศาสตราจารย์ ดร. นรเศรษฐ์ ณ สงขลา
  19. รองศาสตราจารย์ ดร. ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์
  20. รองศาสตราจารย์ ดร. กุลชาติ จังภัทรพงศา
  21. รองศาสตราจารย์ ดร. ชนินทร์ นันทเสนามาตร์
  22. รองศาสตราจารย์ ดร. วราวรรณ เอี่ยมพึ่งพร
  23. รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฐวัฒน์ อ่อนลมูล
  24. รองศาสตราจารย์ ดร. เมธิจิต วัฒนพานิช
  25. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จำรัส พร้อมมาศ
  26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อลิสา ทับสุวรรณ
  27. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พญ. พัชรพร เตชะสินธุ์ธนา สาระสมบัติ
  28. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรากร เจริญสุข
  29. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรภพ นัยเนตร
  30. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณภัทร สองทวี
  31. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กุลธิดา กิติดี
  32. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลดาวัลย์ โควาวิเศษสุต
  33. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิเชษฐ์ รื่นจิตต์
  34. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิชนันท์ แย้มกมล
  35. อาจารย์ ดร. ศนิตตา ทองแพง
  36. อาจารย์ ดร. สรชา เดชะอำไพ
  37. อาจารย์ ดร. วรรณา ทองนพคุณ
  38. อาจารย์ ดร.สพ.ญ. มนต์รัตน์ จุลเนตร