ผู้สนใจเข้าศึกษา ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพหุวัฒนธรรมศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
เว็บไซต์ http://www.lc.mahidol.ac.th/en/Program/PhdMulticultural.htm

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พหุวัฒนธรรมศึกษา)

จุดเด่นของหลักสูตร

The Ph.D Program in Multicultural Studies offers a comprehensive curriculum exploring issues of ethno-cultural diversity and citizenship in Thailand and ASEAN countries, China and India. It provides students with theoretical tools and practical trainin

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑
แบบ ๑.๑ ผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท           
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
ศึกษารายวิชาตามความสนใจโดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา แบบไม่นับหน่วยกิต
แบบ ๒
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 12            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 12            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม
- นักวิจัยด้านความหลากหลายทางวัฒนธรรม
- นักวิชาการด้านวัฒนธรรม
- นักวิเคราะห์นโยบายและแผนด้านวัฒนธรรม
- นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน
- นักพัฒนาสังคม

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วภวธ๕๑๐ : แนวคิดหลักทางวัฒนธรรมศึกษา 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วภพศ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วภวธ๕๑๐ : แนวคิดหลักทางวัฒนธรรมศึกษา 3
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
วภวธ๕๑๐ : แนวคิดหลักทางวัฒนธรรมศึกษา 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
วภพศ๖๐๑ : แนวคิด ทฤษฎีหลักด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๓ : สัมมนาประเด็นร่วมสมัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
   สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
วภพศ๖๐๑ : แนวคิด ทฤษฎีหลักด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๒ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๓ : สัมมนาประเด็นร่วมสมัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
วภพศ๖๐๔ : การสร้างกรอบความคิดการวิจัยด้านพหุวัฒนธรรมศึกษา 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วภพศ๖๑๐ : พหุวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลังยุคอาณานิคม 3
วภพศ๖๑๑ : การข้ามชาติ การอพยพโยกย้าย และการพลัดถิ่นในเอเชีย 3
วภพศ๖๑๔ : พหุวัฒนธรรมกับการศึกษา 3
วภพศ๖๑๙ : การศึกษาประเด็นเฉพาะ 3
วภพศ๖๒๐ : การเมืองของสิทธิทางวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3
วภพศ๖๒๑ : การสื่อสารกับพหุวัฒนธรรมเอเชีย 3
วภพศ๖๒๒ : พหุวัฒนธรรม โลกาภิวัตน์ กับพหุลักษณ์ทางการแพทย์ 3
วภพศ๖๒๓ : ภาษา อำนาจ และอัตลักษณ์ 3
วภพศ๖๒๔ : พลวัตทางวัฒนธรรมกับความหลากหลายในสังคมเมือง 3
วภพศ๖๒๕ : มรดกวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ และการท่องเที่ยวกับพหุวัฒนธรรมเอเชีย 3
วภพศ๖๒๖ : ชาติพันธุ์ เชื้อชาติในสังคมร่วมสมัยเอเชีย 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วภพศ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36
วภพศ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่