ผู้สนใจเข้าศึกษา ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
เว็บไซต์ http://www.mb.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 9            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 14            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 10            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Academics in biological sciences and relevant disciplines 2. Researchers in governmental organizations or private sectors 3. Innovators or entrepreneurs

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ชมชช๕๐๑ : ชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ 3
ชมชช๕๐๒ : ชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบประยุกต์ 3
ชมชช๕๐๔ : เทคนิคทางชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ 2
ชมชช๕๐๕ : การวินิจฉัยและการบำบัดระดับโมเลกุล 3
ชมชช๕๑๓ : ประเด็นความสนใจปัจจุบันทางชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ 1
ชมชช๕๑๔ : เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ชมชช๕๐๑ : ชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบ 3
ชมชช๕๐๒ : ชีววิทยาศาสตร์เชิงระบบประยุกต์ 3
ชมชช๕๐๕ : การวินิจฉัยและการบำบัดระดับโมเลกุล 3
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ชมชช๖๐๑ : ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและการฟื้นฟูสภาวะเสื่อม 3
ชมชช๖๐๒ : ชีววิทยาระดับเซลล์และระดับโมเลกุลของธาลัสซีเมีย 3
ชมชช๖๐๔ : ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเซลล์และไวรัสและการสร้างภูมิคุ้มกัน 3
ชมพพ๖๑๐ : นวัตกรรมจากงานวิจัย 1
วทชค๖๑๗ : ชีวสารสนเทศและชีววิทยาระบบโมเลกุล 2
วศชพ๕๒๓ : การประมวลผลภาพทางชีวการแพทย์ขั้นสูง 3
ศรชว๕๑๒ : การแพทย์แม่นยำ 2
ศรชอ๖๐๑ : ชีวการออกแบบเชิงบูรณาการทางการแพทย์ 3
ศรชอ๖๐๒ : เทคโนโลยีล้ำสมัยเพื่อชีวการออกแบบรวบยอด 3
ศรวภ๖๑๗ : โฟลไซโตเมทรีขั้นสูง 2
ศรสว๕๐๓ : ชีวสารสนเทศทางการแพทย์ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ชมชช๖๐๑ : ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและการฟื้นฟูสภาวะเสื่อม 3
ชมชช๖๐๒ : ชีววิทยาระดับเซลล์และระดับโมเลกุลของธาลัสซีเมีย 3
ชมชช๖๐๔ : ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเซลล์และไวรัสและการสร้างภูมิคุ้มกัน 3
ชมพพ๖๑๐ : นวัตกรรมจากงานวิจัย 1
วทชค๖๑๗ : ชีวสารสนเทศและชีววิทยาระบบโมเลกุล 2
วศชพ๕๒๓ : การประมวลผลภาพทางชีวการแพทย์ขั้นสูง 3
ศรชว๕๑๒ : การแพทย์แม่นยำ 2
ศรชอ๖๐๑ : ชีวการออกแบบเชิงบูรณาการทางการแพทย์ 3
ศรชอ๖๐๒ : เทคโนโลยีล้ำสมัยเพื่อชีวการออกแบบรวบยอด 3
ศรวภ๖๑๗ : โฟลไซโตเมทรีขั้นสูง 2
ศรสว๕๐๓ : ชีวสารสนเทศทางการแพทย์ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ชมชช๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ชมชช๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. ฉลองรัตน์ โนรี   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ พญ. ละอองศรี อัชชนียสกุล
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. สุรพล พิบูลโภคานันท์
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. โสรยา จาตุรงคกุล
  5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น.สพ. นริศร กิติยานันท์
  6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นที เจียรวิริยะไพศาล
  7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดวงฤดี ธารรำลึก
  8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิริรัตน์ กุมาร
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อลิสา ทับสุวรรณ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชริยา พรรณศิลป์
  11. อาจารย์ ดร. ดวงนภา ก่อวนิช
  12. อาจารย์ ดร.นพ. กิตติพงศ์ ไพบูลย์สุขวงศ์
  13. อาจารย์ ดร. ชุติมา เทพฤทธิ์
  14. อาจารย์ ดร. พร้อมสิน มาศรีนวล