ศ.ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะเวชศาสตร์เขตร้อน |
เว็บไซต์ |
https://www.tm.mahidol.ac.th/phd-tropmed/ |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(อายุรศาสตร์เขตร้อน)
แบบ ๑ | |||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒ | |||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 8 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต |
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วขสว๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วขสว๕๑๓ : ชีวสถิติ | 2 | ||
วขสว๕๓๔ : เซลล์และชีววิทยาระดับโมเลกุลของโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขสว๕๓๖ : โฮสต์และลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมของโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขสว๕๓๗ : เชื้อก่อโรคเขตร้อนและพาหะนำโรค | 2 | ||
วขสว๕๓๘ : การฝึกภาคสนามทางอายุรศาสตร์เขตร้อน | 1 | ||
วขสว๕๔๔ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 2 | ||
วขสว๕๔๘ : แนวคิดด้านวิทยาการระบาดทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 1 | ||
วขสว๖๐๖ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขสว๖๐๗ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ | 3 | ||
วขสว๖๐๘ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางเลือดและพาหะ | 3 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วขสว๖๐๖ : สัมมนาดุษฎีบัณฑิตทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขสว๖๐๗ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางอาหารและน้ำ | 3 | ||
วขสว๖๐๘ : โรคเขตร้อนที่ติดต่อทางเลือดและพาหะ | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วขกข๕๑๓ : กีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขจอ๕๑๐ : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ | 2 | ||
วขจอ๕๑๑ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๑ | 2 | ||
วขจอ๕๑๒ : วิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ | 2 | ||
วขจอ๕๑๓ : จุลชีววิทยาขั้นสูง | 2 | ||
วขจอ๕๑๕ : จุลชีววิทยาภาคปฏิบัติ | 2 | ||
วขจอ๕๑๖ : วิทยาภูมิคุ้มกันภาคปฏิบัติ | 2 | ||
วขชพ๕๐๘ : อายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุลและพันธุศาสตร์ | 2 | ||
วขชพ๕๐๙ : สัมมนาอายุรศาตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล | 2 | ||
วขชพ๕๑๐ : ปฏิบัติการวิจัยทางชีววิทยาระดับโมเลกุล | 2 | ||
วขชพ๕๑๑ : การวิจัยเชิงปฏิบัติการขั้นสูง | 2 | ||
วขปน๕๐๕ : วิทยาหนอนพยาธิการแพทย์ | 2 | ||
วขพข๕๐๒ : จุลกายวิภาคศาสตร์ | 2 | ||
วขพข๕๐๓ : สรีรวิทยา | 2 | ||
วขพข๕๐๔ : พยาธิวิทยา | 2 | ||
วขพข๕๐๕ : พยาธิวิทยาโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขพป๕๐๓ : โปรโตซัววิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขภข๕๐๖ : โภชนศาสตร์ | 2 | ||
วขภข๕๑๐ : ชีวเคมี | 2 | ||
วขภข๕๑๖ : ปฏิบัติการโภชนศาสตร์ | 2 | ||
วขภข๕๑๗ : ชีวเคมีและโภชนศาสตร์ขั้นสูง | 2 | ||
วขวส๕๐๒ : สังคมศาสตร์ประยุกต์ทางเวชศาสตร์เขตร้อน | 2 | ||
วขวส๕๐๓ : วิทยาการระบาดทางสังคม | 2 | ||
วขวส๕๐๔ : ปัญหาปัจจุบันทางสังคมศาสตร์การแพทย์ | 2 | ||
วขวส๕๒๔ : หลักการทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา | 2 | ||
วขวส๕๒๕ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ | 2 | ||
วขวส๕๒๖ : เทคนิคการวิเคราะห์ทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา | 2 | ||
วขวส๕๒๘ : การจัดการสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๕๒๙ : หลักการทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๕๓๑ : เทคโนโลยีชีวภาพประยุกต์ | 2 | ||
วขวส๕๓๓ : เทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูงเพื่อพัฒนาชีวภัณฑ์และควบคุมโรคเขตร้อน | 2 | ||
วขวส๕๓๘ : วิธีศึกษาด้านเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขสข๕๒๐ : วิทยาการระบาดขั้นสูง | 2 | ||
วขสข๕๒๑ : ชีวสถิติขั้นกลาง | 2 | ||
วขสข๕๒๒ : การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงทางวิทยาการระบาด | 2 | ||
วขสว๕๑๖ : ปรสิตวิทยาภาคปฏิบัติ | 2 | ||
วขอข๕๑๐ : โรคที่เกิดจากปรสิต | 2 | ||
วขอข๕๑๑ : โรคที่ไม่ได้เกิดจากปรสิต | 2 | ||
วขอข๕๑๓ : หลักการวิจัยทางคลินิก | 2 | ||
วขอข๕๑๔ : เภสัชวิทยาเขตร้อนคลินิก | 2 | ||
วขอข๕๑๕ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๑ | 2 | ||
วขอข๕๑๖ : เภสัชจลนพลศาสตร์คลินิก ๒ | 2 | ||
วขอข๕๑๗ : การประเมินผลการวิจัยทางเภสัชวิทยาคลินิก | 2 | ||
หัวข้อพิเศษ สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี และสำเร็จปริญญาโท | |||
วขกข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางกีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขจอ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน | 2 | ||
วขจอ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางชีววิทยาระดับโมเลกุลของการติดเชื้อ/โรคเขตร้อน | 2 | ||
วขจอ๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาภูมิคุ้มกัน | 2 | ||
วขชพ๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๑ | 2 | ||
วขชพ๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนระดับโมเลกุล ๒ | 2 | ||
วขปน๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาหนอนพยาธิ | 2 | ||
วขพข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิวิทยา | 2 | ||
วขพข๖๐๒ : สัมมนาทางพยาธิวิทยาโรคเขตร้อน ๒ | 2 | ||
วขพป๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางพยาธิโปรโตซัววิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขภข๖๐๓ : หัวข้อพิเศษทางวิทยาการระบาดโภชนาการ | 2 | ||
วขภข๖๐๕ : หัวข้อพิเศษทางโภชนาการชีวเคมี | 2 | ||
วขมข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโรคเด็กในเขตร้อน | 2 | ||
วขวส๖๐๔ : การเตรียมโครงร่างการวิจัย | 2 | ||
วขวส๖๐๗ : การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยาขั้นสูง | 2 | ||
วขวส๖๐๘ : สัมมนาด้านสุขภาพสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา | 2 | ||
วขวส๖๐๙ : ปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๖๑๐ : สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม | 2 | ||
วขวส๖๑๑ : หัวข้อพิเศษทางเวชศาสตร์สังคม | 2 | ||
วขสข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางระบาดวิทยาและการควบคุมโรคติดต่อ | 2 | ||
วขสข๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางสุขวิทยาเขตร้อน | 2 | ||
วขสว๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางโลหิตวิทยา | 2 | ||
วขสว๖๐๒ : หัวข้อพิเศษทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วขอข๖๐๑ : หัวข้อพิเศษทางอายุรศาสตร์เขตร้อนคลินิก | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วขสว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วขสว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |