ศ.ดร.พญ.พัชรีย์ เลิศฤทธิ์
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะเทคนิคการแพทย์ |
เว็บไซต์ |
http://www.mt.mahidol.ac.th |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เทคนิคการแพทย์)
แบบ ๑ | |||
แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒ | |||
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
๒.๑.๑ สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์จากสถาบัน อื่น หรือจากคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เกิน ๕ ปี หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 61 | หน่วยกิต | |
๒.๑.๒ สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่เกิน ๕ ปี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 7 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 5 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 10 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 73 | หน่วยกิต |
ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว สามารถ ประกอบอาชีพต่างๆ ในองค์กรภาครัฐ และเอกชน ทั้งในและต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัย นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคการแพทย์ ผู้บริหาร ระดับสูง ในมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย โรงพยาบาล ห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร หน่วยงานต่างๆ เป็นผู้ประกอบการอิสระ ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับงานเทคนิคการแพทย์ และวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีอื่นๆ หรือเป็นนักวิจัย ในองค์กรภาคธุรกิจอุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือ/เอกชน ที่สร้างสรรค์ นวัตกรรม ผลิตเทคโนโลยี เครื่องมือ/ภาครัฐอุตสาหกรรม/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสามารถเป็นนักวิชาการ ซึ่งปฏิบัติงานร่วมกับทีมสร้างเสริมสุขภาวะให้แก่ชุมชน
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท | |||
ทนคร๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือสำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญา โท สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จากสถาบันอื่น หรือจากคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เกิน ๕ ปี หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | |||
ทนคร๕๑๖ : วิชาชีพเทคนิคการแพทย์เบื้องต้น | 1 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
ทนคร๖๐๑ : การบริหารห้องปฏิบัติการทางคลินิก | 2 | ||
ทนคร๖๐๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัย | 3 | ||
ทนคร๖๑๓ : สัมมนาขั้นสูง | 2 | ||
ทนคร๖๑๘ : วิทยาการห้องปฏิบัติการคลินิก ๑ | 2 | ||
ทนคร๖๑๙ : วิทยาการห้องปฏิบัติการคลินิก ๒ | 1 | ||
ทนคร๖๒๐ : การจัดการงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม | 2 | ||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่เกิน ๕ ปี | |||
ทนคร๖๐๔ : หัวข้อเลือกสรรทางเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๖๑๓ : สัมมนาขั้นสูง | 2 | ||
ทนคร๖๑๙ : วิทยาการห้องปฏิบัติการคลินิก ๒ | 1 | ||
ทนคร๖๒๐ : การจัดการงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
: | 0 | ||
ทนคค๖๐๑ : เคมีคลินิกขั้นสูง | 4 | ||
ทนคค๖๐๗ : พิษวิทยาคลินิกชั้นสูง | 2 | ||
ทนคค๖๐๙ : โภชนาการคลินิก | 1 | ||
ทนคค๖๑๐ : วิธีปฏิบัติการทดลองและเครื่องมือทางเคมีคลินิก | 2 | ||
ทนคค๖๑๑ : พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลทางการแพทย์ | 2 | ||
ทนคค๖๑๒ : หัวข้อเลือกสรรทางเคมีคลินิก | 1 | ||
ทนคค๖๑๓ : ไบโอเซนเซอร์ทางเคมีคลินิก | 1 | ||
ทนคม๕๐๒ : หัวข้อเรื่องปัจจุบันทางโลหิตวิทยา | 2 | ||
ทนคม๖๐๕ : เทคนิคทางคลังเลือดและวิทยาภูมิคุ้มกันโลหิตวิทยา | 2 | ||
ทนคม๖๐๙ : จุลทรรศนศาสตร์คลินิกขั้นสูง | 4 | ||
ทนคม๖๑๒ : พันธุศาสตร์ทางการแพทย์ขั้นสูง | 2 | ||
ทนคร๕๐๖ : การออกแบบและสร้างเครื่องมือขั้นพื้นฐานสำหรับห้องปฏิบัติการคลินิก | 3 | ||
ทนคร๕๑๓ : อิเล็กทรอนิกส์เชิงตัวเลข | 2 | ||
ทนคร๖๐๖ : เทคโนโลยีปัจจุบันทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล | 2 | ||
ทนคร๖๐๗ : การฝึกงานในห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ | 4 | ||
ทนคร๖๐๘ : เทคโนโลยีทางการตรวจวินิจฉัยในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต | 2 | ||
ทนคร๖๑๐ : หัวข้อเลือกสรรอิสระทางด้านเทคโนโลยีประยุกต์และชีวการแพทย์ | 1 | ||
ทนคร๖๑๔ : หลักการศึกษาและการพัฒนาการศึกษา | 2 | ||
ทนคร๖๑๕ : การจัดการเรียนรู้และการสอนทางด้านเทคนิคการแพทย์ | 2 | ||
ทนคร๖๑๖ : ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ | 2 | ||
ทนคร๖๑๗ : ชีวสารสนเทศ | 2 | ||
ทนจค๖๐๑ : จุลชีววิทยาคลินิกขั้นสูง | 3 | ||
ทนจค๖๐๔ : วิธีปัจจุบันทางวิทยาภูมิคุ้มกันคลินิก | 2 | ||
ทนจค๖๐๖ : วิธีปัจจุบันทางด้านจุลชีววิทยาคลินิก | 2 | ||
ทนจค๖๐๘ : เอนไซม์และผลิตผลของจุลินทรีย์ | 1 | ||
ทนจค๖๑๐ : หัวข้อเลือกสรรทางด้านจุลชีววิทยาระดับโมเลกุล | 1 | ||
ทนจค๖๑๑ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อ | 1 | ||
ทนจค๖๑๓ : หัวข้อเลือกสรรอิสระทางด้านจุลชีววิทยา | 1 | ||
ทนจค๖๑๕ : โรคติดเชื้ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 2 | ||
ทนจค๖๑๖ : วิทยาภูมิคุ้มกันระดับโมเลกุลขั้นสูง | 2 | ||
ทนจน๖๑๔ : วิทยาการขั้นสูงทางด้านสารต้านจุลชีพและการดื้อยา | 1 | ||
ทนทช๖๐๑ : สุขภาพประชากร และเทคนิคการแพทย์ชุมชน | 2 | ||
ทนทช๖๐๒ : สารสนเทศทางสุขภาพ | 2 | ||
ทนทช๖๐๓ : หัวข้อเลือกสรรทางปรสิตวิทยาการแพทย์และกีฏวิทยาการแพทย์ | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือสำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญา โท สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ จากสถาบันอื่น หรือจากคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เกิน ๕ ปี หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | |||
ทนคร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่เกิน ๕ ปี | |||
ทนคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |