ศ.ดร.พญ.พัชรีย์ เลิศฤทธิ์
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะเภสัชศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เภสัชศาสตร์ชีวภาพ)
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาแกน | 3 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี/เภสัชศาสตรบัณฑิต | |||
หมวดวิชาแกน | 3 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
1. A research scientist 2. A clinical research associate 3. A pharmaceutical product specialist
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
ภกภช๖๖๗ : สัมมนาเชิงบูรณาการทางเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 1 | ||
ภกภช๖๗๙ : หัวข้อปัจจุบันทางเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สาขาวิชาเอกชีวเคมี | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกชค๖๗๔ : ชีวเคมีทางชีวเภสัชศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
ภกชค๖๗๖ : ชีวเคมีคลินิกประยุกต์ | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกชค๖๗๔ : ชีวเคมีทางชีวเภสัชศาสตร์ขั้นสูง | 3 | ||
ภกชค๖๗๖ : ชีวเคมีคลินิกประยุกต์ | 3 | ||
สาขาวิชาเอกสรีรวิทยา | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกสร๖๙๑ : ระบบควบคุมทางสรีรวิทยา | 3 | ||
ภกสร๖๙๒ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางสรีรวิทยา | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกสร๖๙๑ : ระบบควบคุมทางสรีรวิทยา | 3 | ||
ภกสร๖๙๒ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางสรีรวิทยา | 3 | ||
วิชาเอกจุลชีววิทยา | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกจช๖๘๔ : จุลชีววิทยาประยุกต์ทางเภสัชศาสตร์ | 3 | ||
ภกจช๖๘๖ : ผลิตภัณฑ์ชีวเภสัช | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกจช๖๘๔ : จุลชีววิทยาประยุกต์ทางเภสัชศาสตร์ | 3 | ||
ภกจช๖๘๖ : ผลิตภัณฑ์ชีวเภสัช | 3 | ||
วิชาเอกเภสัชวิทยา | |||
M.Sc. graduated | |||
ภกภว๖๘๔ : หัวข้อพิเศษทางเภสัชวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๘๗ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกภว๖๘๔ : หัวข้อพิเศษทางเภสัชวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๘๗ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
All majors | |||
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ | 3 | ||
ภกคร๖๘๕ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยในเภสัชศาสตร์ ๑ | 2 | ||
ภกภช๖๖๘ : สัมมนาทางเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 1 | ||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สาขาวิชาเอกชีวเคมี | |||
ภกชค๖๗๐ : เมตาบอลิสมของมนุษย์ | 3 | ||
ภกชค๖๗๑ : เทคนิคทางชีวเคมีเพื่อการวิจัยและพัฒนายา | 3 | ||
ภกชค๖๗๒ : ปฏิบัติการเทคนิคทางชีวเคมี | 2 | ||
ภกชค๖๗๓ : หลักการวิเคราะห์สารชีวโมเลกุล | 3 | ||
ภกชค๖๗๕ : ความรู้ทางชีวเคมีของอาวุธเคมีและชีวภาพ | 3 | ||
สาขาวิชาเอกสรีรวิทยา | |||
ภกสร๖๗๒ : สรีรวิทยาของเซลล์ | 2 | ||
ภกสร๖๗๓ : ความก้าวหน้าทางพยาธิสรีรวิทยา | 3 | ||
ภกสร๖๙๓ : การสูงวัยและการชะลอวัย | 3 | ||
ภกสร๖๙๕ : สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบไต | 3 | ||
ภกสร๖๙๖ : สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบไหลเวียนโลหิต | 3 | ||
ภกสร๖๙๗ : สรีรวิทยาขั้นสูงของระบบต่อมไร้ท่อ | 3 | ||
วิชาเอกจุลชีววิทยา | |||
ภกจช๖๖๔ : จุลชีววิทยาเภสัชอุตสาหกรรม | 3 | ||
ภกจช๖๖๕ : การประกันคุณภาพและการควบคุมทางจุลชีววิทยา | 3 | ||
ภกจช๖๙๔ : เทคนิคทางชีวโมเลกุลสำหรับเภสัชศาสตร์ชีวภาพ | 3 | ||
ภกจช๖๙๕ : เทคนิคพื้นฐานในการเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 2 | ||
วิชาเอกเภสัชวิทยา | |||
ภกภว๖๖๔ : สาระสำคัญทางพิษวิทยา | 3 | ||
ภกภว๖๖๖ : เทคนิคการคัดกรองยา ๑ | 3 | ||
ภกภว๖๗๘ : ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยา | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
M.Sc. graduated | |||
ภกภช๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
B.Sc./Pharm.D. graduated | |||
ภกภช๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่