ศ.ดร.พญ.พัชรีย์ เลิศฤทธิ์
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.hssip.sh.mahidol.ac.th |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สังคมศาสตร์สุขภาพ)
แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 9 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 15 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 9 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
1. Health social science scholars and knowledge transferers in higher education 2. Health social science researchers, analysts and evaluators of health social sciences policies in public and private institutions and organizations.
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
สภสภ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 48 |
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
สมสภ๕๔๘ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๖๑ : สัมมนาแนวทางสหสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๖๒ : การวิจัยทางสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๗๖ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง | 3 | ||
สมสภ๖๗๗ : การวิจัยสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง | 3 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
สมสภ๖๖๑ : สัมมนาแนวทางสหสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์สุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๗๖ : ทฤษฎีสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง | 3 | ||
สมสภ๖๗๗ : การวิจัยสังคมศาสตร์สุขภาพขั้นสูง | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สภสภ๖๑๘ : ประเด็นสุขภาพทางการค้าข้ามพรมแดนและการค้ามนุษย์ | 3 | ||
สมสภ๕๕๕ : โลกาภิวัตน์และสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๕๕๖ : การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ | 3 | ||
สมสภ๕๕๙ : การเคลื่อนย้ายของประชากรและสุขภาพระหว่างประเทศ | 3 | ||
สมสภ๖๐๓ : โลกาภิวัตน์กับโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ | 3 | ||
สมสภ๖๐๔ : การวิจัยประเมินผลทางสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๐๕ : การวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๐๖ : จากการวิจัยสู่การปฏิบัติทางการพัฒนาสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๑๗ : มหันตภัย การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และนัยทางสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๑๙ : ชนกลุ่มน้อย ประชากรชายขอบ ความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพและตัวกำหนดสุขภาพเชิงสังคม | 3 | ||
สมสภ๖๒๔ : ทักษะและแนวทางการคิด | 3 | ||
สมสภ๖๕๔ : วิธีการวิจัยเชิงปริมาณขั้นสูง | 3 | ||
สมสภ๖๖๓ : เพศภาวะ สุขภาวะ และสังคม | 3 | ||
สมสภ๖๖๔ : เพศวิถี เพศภาวะ และสุขภาวะ | 3 | ||
สมสภ๖๖๕ : ตัวกำหนดสุขภาพทางสังคมและความเป็นธรรม | 3 | ||
สมสภ๖๖๖ : การวิเคราะห์และพัฒนาระบบสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๖๗ : ความเป็นชายและสุขภาพ | 3 | ||
สมสภ๖๖๘ : ความทุกข์ทางสังคมและสุขภาพโลก | 3 | ||
สมสภ๖๖๙ : จริยศาสตร์ชีวภาพ กฎหมายและสังคม | 3 | ||
สมสภ๖๗๕ : หลักปรัชญากับทฤษฎีทางสังคม | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
สมสภ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
สมสภ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |