ศ.ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.ph.mahidol.ac.th |
สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต
แบบ ๒ | |||
แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาแกน | 5 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาบังคับ | 4 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 3 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต |
1. Public health administrator/leader 2. Researcher in public health 3. Public health expert 4. Academic scholar
หมวดวิชาแกน | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๘๓ : การฝึกภาคสนามด้านภาวะผู้นำสาธารณสุข | 1 | ||
สศคร๗๑๖ : งานวิจัยและนวัตกรรมสาธารณสุข | 2 | ||
สศคร๗๑๗ : การบริหารขั้นสูงสำหรับผู้ปฏิบัติงานของวิชาชีพสาธารณสุข | 2 | ||
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วิชาเอกบริหารสาธารณสุข | |||
สศบส๗๐๖ : นโยบายสุขภาพและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ | 2 | ||
สศบส๗๐๗ : การวิจัยทางการบริหารสาธารณสุขขั้นสูง | 2 | ||
สาขาวิชาเอกโภชนาการสาธารณสุข | |||
สศภว๗๐๑ : หัวข้อขั้นสูงด้านโภชนาการ | 2 | ||
สศภว๗๐๒ : การวางแผนและการประเมินผลโครงการโภชนาการขั้นสูง | 2 | ||
สาขาวิชาเอกวิทยาการระบาด | |||
สศรบ๖๑๔ : สถิติวิธีทางวิทยาการระบาด ๒ | 2 | ||
สศรบ๖๑๘ : การออกแบบและการวิเคราะห์การศึกษาทางวิทยาการระบาด ๑ | 2 | ||
วิชาเอกสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ | |||
สศสษ๗๐๗ : วิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ขั้นสูง | 2 | ||
สศสษ๗๐๘ : การประยุกต์ทฤษฎีและหลักการทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ในการสร้างเสริมสุขภาพ | 2 | ||
วิชาเอกสุขภาพประชากรโลก | |||
สศคร๗๑๘ : สาระสำคัญของสุขภาพประชากรโลก | 3 | ||
สศคร๗๗๘ : สัมมนาทางการวิจัยและนวัตกรรมสุขภาพประชากรโลก | 1 | ||
วิชาเอกปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา | |||
สศปว๗๐๘ : การจัดการทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาสาธารณสุขระดับโมเลกุล | 2 | ||
สศปว๗๐๙ : ปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาขั้นสูง | 2 | ||
วิชาเอกอนามัยครอบครัว | |||
สศอค๖๓๗ : สหวิทยาการเพื่อสุขภาพเด็กและวัยรุ่น | 2 | ||
สศอค๗๐๔ : อนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์ขั้นสูง | 2 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๗๘ : การศึกษาพิเศษด้านสุขภาพประชากรโลก | 2 | ||
สศคร๗๑๕ : วิธีทางชีวสถิติและวิทยาการระบาดในงานสาธารณสุข | 3 | ||
สศคร๗๑๙ : แนวคิดปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ | 3 | ||
สศคร๗๒๐ : ความชราภาพและสุขภาพประชากรโลก | 3 | ||
สศบส๖๐๕ : เศรษฐศาสตร์สุขภาพประยุกต์ | 3 | ||
สศปว๖๒๘ : เทคนิคทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาขั้นสูง | 2 | ||
สศปว๗๑๐ : การออกแบบและการวิเคราะห์เพื่องานวิจัยทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา | 2 | ||
สศพส๗๓๔ : การวิจัยเชิงคุณภาพขั้นสูง | 3 | ||
สศภว๖๕๕ : การศึกษาพิเศษ | 1 | ||
สศภว๗๐๓ : การทบทวนเชิงวิพากษ์ของงานวิจัยทางโภชนาการสาธารณสุข | 2 | ||
สศรบ๖๐๔ : สถิติวิธีทางวิทยาการระบาด ๑ | 2 | ||
สศรบ๖๑๐ : วิทยาการระบาดเชิงสังคม | 3 | ||
สศรบ๖๑๒ : หัวข้อการวิจัยทางวิทยาการระบาด | 3 | ||
สศรบ๖๙๐ : ประสบการณ์การสอนทางวิทยาการระบาด | 1 | ||
สศสษ๗๐๙ : การศึกษาพิเศษทางการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ | 3 | ||
สศอค๖๓๙ : จิตวิทยาครอบครัวและสังคม | 2 | ||
สศอค๗๐๕ : ประเด็นปัจจุบันด้านอนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์: มุมมองในระดับภูมิภาค | 2 | ||
สศอค๗๐๖ : การประเมินผลโครงการด้านอนามัยครอบครัวและอนามัยการเจริญพันธุ์ | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สศคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สศคร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สศบส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สศปว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สศภว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สศรบ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 | ||
สศสษ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่