ผู้สนใจเข้าศึกษา ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์การแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์การแพทย์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
เว็บไซต์ http://www.si.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(กายวิภาคศาสตร์การแพทย์)

จุดเด่นของหลักสูตร

๑. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีชื่อเสียงและประสบการณ์ด้านการเรียน การสอนกายวิภาคศาสตร์มาช้านาน บุคคลากรมีความรู้ความสามารถด้านกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ ๒. ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการผลิตศพในรูปแบบต่างๆเช่นดองด้วยฟอรมาลิน ศพนุ่มและศพแช่แข็ง ซึ่งเป็นแหล่งสำคัญสำหรับการวิจัยกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชีวกลศาสตร์ ๓. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีหน่วยสนับสนุนการวิจัย และหน่วยเครื่องมือวิจัยกลางที่มีห้องปฏิบัติ การพร้อมอุปกรณ์ที่ทันสมัยรองรับการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และกายวิภาคศาสตร์การแพทย์

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 21            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. Academic in anatomy and medical anatomy in medical school, higher education and health science institutes 2. Researcher in applied anatomy, medical science and health science 3. Personnel in medical anatomy in higher education institution

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรกว๖๐๓ : ชีววิทยาพิพัฒน์ 1
ศรกว๖๐๔ : ประสาทวิทยาศาสตร์ 2
ศรกว๖๐๕ : เซลล์และเนื้อเยื่อ 3
ศรกว๖๑๔ : กายวิภาคศาสตร์คลินิค 2
ศรกว๖๑๗ : หัวข้อทันยุคทางกายวิภาคศาสตร์ 1
ศรกว๖๑๘ : สัมมนาวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์การแพทย์ ๑ 1
ศรกว๖๑๙ : สัมมนาวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์การแพทย์ ๒ 1
ศรกว๖๒๐ : ทักษะวิชาชีพในการสอนทางกายวิภาคศาสตร์ 1
ศรกว๖๒๑ : กายวิภาคศาสตร์: ศีรษะ, คอและอวัยวะรับความรู้สึกพิเศษของมนุษย์ 2
ศรกว๖๒๒ : กายวิภาคศาสตร์: ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูกของมนุษย์ 2
ศรกว๖๒๓ : กายวิภาคศาสตร์: อวัยวะภายในของมนุษย์ 2
ศรคร๕๐๑ : ชีวเวชศาสตร์พื้นฐานระดับโมเลกุลและเซลล์ 3
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรกว๖๑๔ : กายวิภาคศาสตร์คลินิค 2
ศรกว๖๑๗ : หัวข้อทันยุคทางกายวิภาคศาสตร์ 1
ศรกว๖๑๘ : สัมมนาวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์การแพทย์ ๑ 1
ศรกว๖๑๙ : สัมมนาวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์การแพทย์ ๒ 1
ศรกว๖๒๐ : ทักษะวิชาชีพในการสอนทางกายวิภาคศาสตร์ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทกว๖๐๗ : ชีววิทยาโครงสร้างและจุลทรรศน์ขั้นสูง 2
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทพย๕๐๑ : พยาธิวิทยาทั่วไป 2
ศรกว๖๑๑ : พันธุศาสตร์มนุษย์ขั้นสูง 2
ศรกว๖๑๒ : เทคนิคห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1
ศรกว๖๑๓ : ชีวกลศาสตร์ 1
ศรกว๖๑๕ : ประสาทกายวิภาคศาสตร์และประสาทพยาธิวิทยาขั้นสูง 2
ศรกว๖๑๖ : จุลพยาธิวิทยา 2
ศรคร๕๐๓ : ระเบียบวิธีวิจัยทางชีวการแพทย์ 2
ศรชว๕๑๑ : เทคนิคชีววิทยาระดับโมเลกุลทางชีวเวชศาสตร์ 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
ศรกว๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
ศรกว๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนาภรณ์ รุ่งเรือง   (รักษาการแทนประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์คลินิก พญ. อัญชลี ชูโรจน์
  3. ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต เจตน์สว่าง
  4. ศาสตราจารย์ ดร.นพ. ถาวรชัย ลิ้มจินดาพร
  5. ศาสตราจารย์ ดร. เพทาย เย็นจิตโสมนัส
  6. ศาสตราจารย์ ดร.พญ. รังสิมา วณิชภักดีเดชา
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. ศิรินุช ศรีเจริญเวช
  8. รองศาสตราจารย์ นพ. บวรฤทธิ์ จักรไพวงศ์
  9. รองศาสตราจารย์ พญ. จิราภา เจตน์สว่าง
  10. รองศาสตราจารย์ ดร. มุทิตา จุลกิ่ง
  11. รองศาสตราจารย์ พญ. วรพรรณ เสนาณรงค์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นัญวรรณ รุ่งโรจน์
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ. วรธีร์ เดชารักษ์
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. อดิศร รัตนโยธา
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ. ชัชวาล รัตนบรรณกิจ
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภัสรา ลานเหลือ
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เบญจพร ภมรพล
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชญา นิยมจันทร์
  19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. ชัยรัตน์ เติบไพบูลย์
  20. อาจารย์ ดร. ประภาพร ธรรมธาราณา
  21. อาจารย์ พญ. ยุวดี พิทักษ์ปฐพี

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่