ศ.ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาโท |
คณะ / สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เคมี)
แผน ก แบบ ก๑ | |||
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต | |
แผน ก แบบ ก๒ | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 12 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 36 | หน่วยกิต |
Graduates of the program can work in the following capacity: 1. Research and development in commercial sector and in academia; 2. Business entrepreneurs; 3. Scientists in the government sector; 4. Scientific communicators or chemistry instructors.
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทคม๗๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
วทคม๗๐๑ : เคมีแนวหน้า | 3 | ||
วทคม๗๐๒ : ความปลอดภัยทางเคมีและการจัดการความเสี่ยง | 1 | ||
วทคม๗๐๓ : การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทคม๗๐๔ : สัมมนาทางเคมี | 1 | ||
วทคม๗๐๕ : ความก้าวหน้าทางเคมี | 3 | ||
วทคม๗๐๖ : การพัฒนาทักษะการวิจัย ๑ | 3 | ||
In addition, with a consent of an academic advisor and a course coordinator, students must take two (6 credits) of the following courses | |||
วทคม๗๑๑ : การหาโครงสร้างของสารอินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๑๒ : โครงสร้างและหน้าที่ระดับโมเลกุล | 3 | ||
วทคม๗๓๑ : เทคนิคทางเคมีวิเคราะห์ขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๗๓๒ : ปฏิบัติการห้องทดลองการวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ | 3 | ||
วทคม๗๖๓ : โครงสร้างอนินทรีย์และพันธะเคมี | 3 | ||
วทคม๗๖๔ : เทคนิคการพิสูจน์อัตลักษณ์ในเคมีอนินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๗๘ : เทคนิคทางเคมีเชิงฟิสิกส์ | 3 | ||
วทคม๗๘๕ : เคมีเชิงฟิสิกส์ขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๘๐๑ : วัสดุเชิงสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
วทคม๘๐๒ : เคมีเชิงลิกโนเซลลูโลส | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
วทคม๗๑๖ : เคมีชีววิทยา | 3 | ||
วทคม๗๑๓ : เคมีอินทรีย์สังเคราะห์ขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๗๑๔ : กลไกปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๗๑๕ : เคมีทางยาแนวหน้า | 3 | ||
วทคม๗๑๗ : เคมีของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๗๑๘ : การสังเคราะห์แบบอสมมาตร | 3 | ||
วทคม๗๑๙ : เคมีของสารเฮเทอโรไซคลิกขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๗๒๐ : หัวข้อที่เป็นปัจจุบันทางเคมีอินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๓๓ : เทคนิคการแยก | 3 | ||
วทคม๗๓๔ : เทคโนโลยีของไหลสำหรับศาสตร์วิเคราะห์ | 3 | ||
วทคม๗๓๕ : เคโมเมตริกส์ | 3 | ||
วทคม๗๓๖ : เคมีของสารละลาย | 3 | ||
วทคม๗๓๗ : เคมีสิ่งแวดล้อม | 3 | ||
วทคม๗๓๘ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเคมีวิเคราะห์ | 3 | ||
วทคม๗๕๓ : การเร่งปฏิกิริยาเอกพันธุ์ | 3 | ||
วทคม๗๕๔ : เคมีของโลหะแทรนซิชันอินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๕๖ : การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ | 3 | ||
วทคม๗๕๗ : เคมีของสถานะของแข็ง | 3 | ||
วทคม๗๕๘ : การกระตุ้นโมเลกุลเล็ก | 3 | ||
วทคม๗๕๙ : การเร่งปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของโอเลฟิน | 3 | ||
วทคม๗๖๐ : การแปรสภาพและการแยกผลิตภัณฑ์จากชีวมวล | 3 | ||
วทคม๗๖๑ : การเร่งปฏิกิริยานาโน | 3 | ||
วทคม๗๖๕ : เคมีของธาตุหมู่หลัก | 3 | ||
วทคม๗๖๖ : กลไกปฏิกิริยาอนินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๖๗ : เอ็นเอ็มอาร์ สเปกโตรสโกปีสำหรับเคมีอนินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๖๘ : หัวข้อพิเศษทางเคมีอนินทรีย์ | 3 | ||
วทคม๗๖๙ : เคมีชีวอนินทรีย์: จากโลหะในชีววิทยาสู่การประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน | 3 | ||
วทคม๗๗๑ : เคมีควอนตัม | 3 | ||
วทคม๗๗๒ : อุณหพลศาสตร์และกลศาสตร์เชิงสถิติ | 3 | ||
วทคม๗๗๔ : จลนพลศาสตร์เคมีและพลศาสตร์โมเลกุล | 3 | ||
วทคม๗๗๕ : ฟิสิกส์เชิงเคมีแผนใหม่ | 3 | ||
วทคม๗๗๖ : วิธีทางคณิตศาสตร์ | 3 | ||
วทคม๗๗๙ : เคมีพื้นผิวและเคมีไฟฟ้าขั้นสูง | 3 | ||
วทคม๗๘๐ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางเคมีเชิงฟิสิกส์ | 3 | ||
วทคม๗๘๑ : หัวข้อเรื่องพิเศษทางฟิสิกส์เชิงเคมี | 3 | ||
วทคม๘๐๓ : เคมีของกากของเสียและมลพิษ | 3 | ||
วทคม๘๐๔ : หลักการความยั่งยืน | 3 | ||
วทคม๘๐๕ : เส้นใยธรรมชาติ | 3 | ||
วทคม๘๐๖ : เคมีเชิงอุตสาหกรรม | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
วทคม๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ | 12 |
สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่