ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพิษวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพิษวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พิษวิทยา)

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑ .๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาพิษวิทยา
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒ .๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 7            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒ .๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 20            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 78            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้เชี่ยวชาญด้านพิษวิทยา
- นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย นักวิชาการด้านพิษวิทยาในหน่วยงาน สถาบัน ทั้งภาครัฐและเอกชน

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโทสาขาพิษวิทยา
วทพษ๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ 2
วทคร๕๐๓ : วิทยาศาสตร์ชีวภาพเชิงระบบ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทพษ๖๐๓ : วิธีทดลองทางพิษวิทยา 1
วทพษ๖๐๔ : พิษวิทยาระดับโมเลกุลและระดับพันธุกรรม 2
วทพษ๖๒๙ : พิษวิทยาเชิงระบบ 2
วทพษ๖๓๕ : พิษวิทยาพื้นฐาน 3
วทพษ๖๙๓ : สัมมนาทางพิษวิทยาพื้นฐาน 1
วทพษ๖๙๔ : สัมมนาหัวข้อพิเศษทางพิษวิทยา 1
วทพษ๖๙๕ : สัมมนาทางพิษวิทยาขั้นสูง 1
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทพษ๖๐๔ : พิษวิทยาระดับโมเลกุลและระดับพันธุกรรม 2
วทพษ๖๙๕ : สัมมนาทางพิษวิทยาขั้นสูง 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล 2
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๒๐ : ศาสตร์ทางการสอนและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ศึกษา 2
วทพษ๖๓๓ : พิษวิทยาคลินิก 2
สศออ๖๕๖ : การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทพษ๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทพษ๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อ   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. กนกพรรณ วงศ์ประเสริฐ
  3. ศาสตราจารย์ ดร.นพ. ฉัตรชัย เหมือนประสาท
  4. ศาสตราจารย์ ดร. นพ. นรัตถพล เจริญพันธุ์
  5. ศาสตราจารย์ นพ. วินัย วนานุกูล
  6. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. ณัฐวุธ สิบหมู่
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. อมรรัตน์ นรานันทรัตน์ เจนเซน
  8. รองศาสตราจารย์ Dr. ลาเรน เจนเซน
  9. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. เพิ่มพันธุ์ ธรรมสโรช
  10. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ. พรพรรณ วิวิธนาภรณ์
  11. รองศาสตราจารย์ ดร.พญ. ณัฏฐิณี จันทรรัตโนทัย
  12. รองศาสตราจารย์ ดร.ภก. สัณหภาส สุดวิลัย
  13. รองศาสตราจารย์ ดร. เทพมนัส บุปผาอินทร์
  14. รองศาสตราจารย์ ดร. ดาครอง พิศสุวรรณ
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิษุวัต สงนวล
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ. วิชชุดา แสงสว่าง
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมยศ ศรีดุรงฤทธิ์
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พญ. พิมทิพย์ สังวรินทะ
  19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพา กอประเสริฐถาวร
  20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิตยา บุญหมื่น
  21. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณิต ภู่ไข่