ศ.ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ฟิสิกส์)
แบบ ๒ | |||
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 18 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทฟส๕๐๒ : กลศาสตร์คลาสสิก | 3 | ||
วทฟส๕๐๓ : กลศาสตร์ควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๕๐๔ : อุณหพลศาสตร์และฟิสิกส์เชิงสถิติ | 3 | ||
วทฟส๕๐๗ : พลศาสตร์ไฟฟ้าคลาสสิก | 3 | ||
วทฟส๕๐๘ : ฟิสิกส์ร่วมสมัย | 3 | ||
วทฟส๕๙๘ : สัมมนาในวิชาฟิสิกส์ ๓ | 1 | ||
วทฟส๕๙๙ : สัมมนาในวิชาฟิสิกส์ ๔ | 1 | ||
วทฟส๖๐๐ : สัมมนาในวิชาฟิสิกส์ ๕ | 1 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทฟส๕๐๘ : ฟิสิกส์ร่วมสมัย | 3 | ||
วทฟส๕๙๘ : สัมมนาในวิชาฟิสิกส์ ๓ | 1 | ||
วทฟส๕๙๙ : สัมมนาในวิชาฟิสิกส์ ๔ | 1 | ||
วทฟส๖๐๐ : สัมมนาในวิชาฟิสิกส์ ๕ | 1 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ และรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ | |||
วทฟส๕๐๕ : วิธีการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักฟิสิกส์ | 3 | ||
วทฟส๕๑๐ : วิธีการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักฟิสิกส์ขั้นสูง | 3 | ||
วทฟส๕๗๐ : การประมวลผลสัญญาณและรูปภาพ | 3 | ||
วทฟส๕๗๑ : การเขียนโปรแกรมแบบขนาน | 3 | ||
วทฟส๕๗๔ : วิธีการเชิงตัวเลขสำหรับสมการเชิงอนุพันธ์ | 3 | ||
วทฟส๕๗๖ : การแสดงภาพเชิงวิทยาศาสตร์ | 3 | ||
วทฟส๖๑๒ : ฟิสิกส์เชิงคำนวณ ๑ | 3 | ||
วทฟส๖๑๓ : ฟิสิกส์เชิงคำนวณ ๒ | 3 | ||
กลุ่มวิชาฟิสิกส์คลาสสิก และฟิสิกส์ไม่เชิงเส้น | |||
วทฟส๕๑๗ : กลศาสตร์ของไหล | 3 | ||
วทฟส๕๒๓ : ทฤษฎีสนามคลาสสิก | 3 | ||
วทฟส๕๗๕ : พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ | 3 | ||
วทฟส๖๑๔ : กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง | 3 | ||
วทฟส๖๔๖ : แฟรคทัลและเคออส | 3 | ||
วทฟส๖๔๗ : คลื่นไม่เชิงเส้น | 3 | ||
วทฟส๖๔๘ : ปรากฏการณ์ไม่เชิงเส้นเชิงคำนวณ | 3 | ||
วทฟส๖๕๕ : ระบบซับซ้อน | 3 | ||
วทฟส๖๘๖ : หัวข้อคัดสรรทางปรากฏการณ์ไม่เชิงเส้น | 3 | ||
กลุ่มวิชากลศาสตร์ควอนตัมและการประยุกต์ | |||
วทฟส๕๑๑ : ฟิสิกส์อะตอมและโมเลกุล | 3 | ||
วทฟส๕๑๙ : ฟิสิกส์นิวเคลียร์ | 3 | ||
วทฟส๕๒๒ : กลศาสตร์ควอนตัมขั้นสูง | 3 | ||
วทฟส๖๑๑ : ฟิสิกส์อะตอมขั้นสูง | 3 | ||
วทฟส๖๒๐ : วิธีการไม่รบกวนในทฤษฎีสนามควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๖๒๑ : สมมาตรยวดยิ่งในทฤษฎีสนามและสตริง | 3 | ||
วทฟส๖๓๗ : การจำลองโมเลกุล | 3 | ||
วทฟส๖๓๘ : กลศาสตร์ควอนตัมระดับโมเลกุล | 3 | ||
วทฟส๖๓๙ : ทฤษฎีสนามควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๖๔๐ : ทฤษฎีของระบบหลายอนุภาค | 3 | ||
กลุ่มวิชาฟิสิกส์สสารควบแน่น และวิทยาศาสตร์วัสดุ | |||
วทฟส๕๑๕ : วัสดุไฟฟ้า | 3 | ||
วทฟส๕๑๖ : อุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ | 3 | ||
วทฟส๕๒๑ : ฟิสิกส์ของสารกึ่งตัวนำ | 3 | ||
วทฟส๕๔๓ : ฟิสิกส์ของพื้นผิวและรอยต่อ | 3 | ||
วทฟส๖๔๒ : เทคนิคการเลี้ยวเบน | 3 | ||
วทฟส๖๔๓ : ฟิสิกส์และเทคโนโลยีของฟิล์มบาง | 3 | ||
วทฟส๖๕๐ : เทคโนโลยีและการประยุกต์พลาสมา | 3 | ||
วทฟส๖๕๑ : อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ | 3 | ||
วทฟส๖๕๒ : สภาพนำยวดยิ่ง | 3 | ||
วทฟส๖๕๓ : วิธีการพิเศษทางสภาพนำยวดยิ่งเชิงทฤษฎี | 3 | ||
วทฟส๖๕๗ : ฟิสิกส์สสารควบแน่นขั้นสูง | 3 | ||
วทฟส๖๘๓ : หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ของฟิล์มบางและพื้นผิว | 3 | ||
กลุ่มวิชาทัศนศาสตร์ | |||
วทฟส๕๒๔ : ทัศนศาสตร์ฟูเรียร์ | 3 | ||
วทฟส๕๒๕ : โฟโตนิกส์ | 3 | ||
วทฟส๖๓๖ : อิเล็กทรอนิกส์เชิงแสง | 3 | ||
วทฟส๖๔๕ : ทฤษฎีเลเซอร์ | 3 | ||
วทฟส๖๘๕ : หัวข้อคัดสรรทางการประยุกต์เลเซอร์ | 3 | ||
กลุ่มวิชาทัศนศาสตร์ควอนตัม และสารสนเทศควอนตัม | |||
วทฟส๕๒๖ : ทัศนศาสตร์ควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๕๒๗ : คณิตศาสตร์สำหรับสารสนเทศควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๕๒๘ : สารสนเทศควอนตัม | 3 | ||
วทฟส๕๒๙ : หัวข้อทางสารสนเทศควอนตัม | 3 | ||
กลุ่มวิชาดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ | |||
วทฟส๕๓๑ : รังสีคอสมิก | 3 | ||
วทฟส๕๓๒ : ดาราศาสตร์กาแล็กซี | 3 | ||
วทฟส๕๓๓ : ดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ | 3 | ||
วทฟส๕๓๔ : ฟิสิกส์สุริยะ | 3 | ||
วทฟส๕๓๕ : สัมพัทธภาพทั่วไป | 3 | ||
วทฟส๖๔๙ : ฟิสิกส์พลาสมา | 3 | ||
วทฟส๖๘๐ : หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ | 3 | ||
วทฟส๖๘๑ : หัวข้อคัดสรรทางดาราศาสตร์ | 3 | ||
กลุ่มวิชาชีวฟิสิกส์ | |||
วทฟส๕๖๑ : ชีวฟิสิกส์มูลฐาน | 3 | ||
วทฟส๕๖๒ : ตัวแบบและการจำลองทางชีวฟิสิกส์ | 3 | ||
วทฟส๖๖๘ : ชีวฟิสิกส์ร่วมสมัย | 3 | ||
กลุ่มวิชาธรณีฟิสิกส์ | |||
วทฟส๕๘๑ : การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ วิธีการสนามศักย์ | 3 | ||
วทฟส๕๘๒ : การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ วิธีการคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า | 3 | ||
วทฟส๕๘๓ : การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ วิธีการคลื่นไหวสะเทือน | 3 | ||
วทฟส๕๘๔ : การสำรวจคลื่นไหวสะเทือนขั้นสูง | 3 | ||
วทฟส๕๘๕ : วิทยาแผ่นดินไหวเบื้องต้น | 3 | ||
วทฟส๕๘๖ : วิทยาแผ่นดินไหวสมัยใหม่ประยุกต์ | 3 | ||
วทฟส๕๘๗ : ทฤษฎีแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว | 3 | ||
วทฟส๖๓๐ : ฟิสิกส์ของโลกที่เป็นของแข็ง | 3 | ||
วทฟส๖๗๐ : ทฤษฎีย้อนกลับและการประยุกต์ | 3 | ||
วทฟส๖๘๔ : หัวข้อคัดสรรทางธรณีฟิสิกส์ | 3 | ||
กลุ่มวิชาฟิสิกส์ศึกษา | |||
วทฟส๖๒๖ : การศึกษาฟิสิกส์ | 3 | ||
วทฟส๖๒๗ : การวิเคราะห์ข้อมูลทางการศึกษาฟิสิกส์ | 3 | ||
วทฟส๖๒๘ : แนวคิดทางฟิสิกส์และความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน | 3 | ||
วทฟส๖๘๒ : หัวข้อคัดสรรทางการศึกษาฟิสิกส์ | 3 | ||
กลุ่มวิชาหัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์และฟิสิกส์ประยุกต์ | |||
วทฟส๖๘๗ : หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ | 3 | ||
วทฟส๖๘๘ : หัวข้อคัดสรรทางฟิสิกส์ประยุกต์ | 3 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทฟส๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทฟส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |