ศ.ดร.ฉัตรเฉลิม อิศรางกูร ณ อยุธยา
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
ระดับ | ปริญญาเอก |
คณะ / สถาบัน | คณะวิทยาศาสตร์ |
เว็บไซต์ |
http://www.sc.mahidol.ac.th |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สรีรวิทยา)
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท | |||
หมวดวิชาบังคับ | 6 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 6 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 36 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 48 | หน่วยกิต | |
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี | |||
หมวดวิชาบังคับ | 20 | หน่วยกิต | |
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า | 4 | หน่วยกิต | |
วิทยานิพนธ์ | 48 | หน่วยกิต | |
รวมไม่น้อยกว่า | 72 | หน่วยกิต |
หมวดวิชาบังคับ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ | 3 | ||
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทสร๖๐๖ : สัมมนาสรีรวิทยา ๑ | 1 | ||
วทสร๖๐๗ : สัมมนาสรีรวิทยา ๒ | 1 | ||
วทสร๖๐๘ : สัมมนาสรีรวิทยา ๓ | 1 | ||
วทสร๖๓๐ : การวิเคราะห์บทความทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทสร๖๓๙ : วิธีปฏิบัติการทางสรีรวิทยา | 1 | ||
วทสร๖๗๗ : สัมมนาสรีรวิทยา ๔ | 1 | ||
วทสร๖๗๘ : การเขียนและการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทสร๖๗๙ : หัวข้อทางสรีรวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
วทสร๖๘๐ : สรีรวิทยาเชิงระบบ ๑ | 3 | ||
วทสร๖๘๑ : สรีรวิทยาเชิงระบบ ๒ | 3 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทสร๖๐๘ : สัมมนาสรีรวิทยา ๓ | 1 | ||
วทสร๖๗๗ : สัมมนาสรีรวิทยา ๔ | 1 | ||
วทสร๖๗๘ : การเขียนและการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ | 1 | ||
วทสร๖๗๙ : หัวข้อทางสรีรวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
หมวดวิชาเลือก | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ | 1 | ||
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี | 1 | ||
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร | 1 | ||
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน | 1 | ||
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน | 1 | ||
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 1 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทภส๖๑๑ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
วทสร๖๒๓ : ประสาทสรีรวิทยา | 2 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล | 3 | ||
วทคร๕๐๒ : วิทยาศาสตร์เรื่องเซลล์ | 2 | ||
วทคร๕๐๖ : หลักการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพระดับโมเลกุล | 2 | ||
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ | 1 | ||
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี | 1 | ||
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร | 1 | ||
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน | 1 | ||
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน | 1 | ||
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน | 1 | ||
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ | 1 | ||
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ | 1 | ||
วทภส๖๑๑ : เภสัชวิทยาขั้นสูง | 3 | ||
วทสร๖๒๓ : ประสาทสรีรวิทยา | 2 | ||
วิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี | |||
วทสร๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 48 | ||
สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท | |||
วทสร๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ | 36 |
สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่