ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์)

จุดเด่นของหลักสูตร

This program is designed to produce high quality graduates of international stature dedicated to research and to train personnel who will support the growth and needs of polymer industries in Thailand.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หมวดวิชาบังคับ 20            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 74            หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์
- นักวิจัยและพัฒนาในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- นักวิเคราะห์ ควบคุมคุณภาพ และกระบวนการผลิตในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
- ประกอบอาชีพอิสระที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่ศึกษา

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๕๒๓ : เคมีพอลิเมอร์ 3
วทคม๕๒๔ : การตรวจลักษณะพอลิเมอร์ 2
วทคม๕๔๓ : ฟิสิกส์พอลิเมอร์ 3
วทคม๕๖๕ : เทคนิคทางวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ 2
วทคม๕๘๘ : สัมมนาพอลิเมอร์ ๑ 2
วทคม๕๙๖ : วิทยากระแสและกระบวนการแปรรูปพอลิเมอร์ 2
วทคม๖๓๒ : เคมีพอลิเมอร์ขั้นสูง 3
วทคม๖๓๘ : แนวโน้มของอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ 1
วทคม๖๘๐ : สัมมนาพอลิเมอร์ ๒ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๖๓๒ : เคมีพอลิเมอร์ขั้นสูง 3
วทคม๖๓๘ : แนวโน้มของอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ 1
วทคม๖๘๐ : สัมมนาพอลิเมอร์ ๒ 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๕๒๖ : การดัดแปรพอลิเมอร์ 2
วทคม๕๒๗ : พอลิเมอร์คอลลอยด์ 2
วทคม๕๕๐ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียาง 2
วทคม๕๙๗ : กระบวนการแปรรูปพอลิเมอร์ขั้นสูง 2
วทคม๕๙๘ : วัสดุนาโน 2
วทคม๖๓๕ : พอลิเมอร์ผสมและคอมพอสิท 2
วทคม๖๓๗ : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีน้ำยางธรรมชาติ 2
วทคม๖๓๙ : พอลิเมอร์ชีวภาพ 2
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๖๓๓ : ฟิสิกส์พอลิเมอร์ขั้นสูง 2
วทคม๖๓๔ : ผิวพอลิเมอร์ 2
วทคม๖๓๖ : ทักษะจำเป็นสำหรับการวิจัยและการทำงาน 2
วทคม๖๖๘ : ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี
วทคม๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท
วทคม๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย   (รักษาการแทนประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี ภิญโญชีพ
  3. ศาสตราจารย์ ดร. กัลยาณี สิริสิงห
  4. ศาสตราจารย์ ดร. ชาคริต สิริสิงห
  5. ศาสตราจารย์ ดร. จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์
  6. ศาสตราจารย์ ดร. ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. พันธ์ญา สุนินทบูรณ์
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ธนะวันต์
  9. รองศาสตราจารย์ ดร. ธรรมสิทธิ์ วงศ์เศรษฐสกุล
  10. รองศาสตราจารย์ ดร. สุภา วิรเศรษฐ์
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดาราภรณ์ เตรียมโพธิ์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัญรัตน์ วัฒนพานิช
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรียานุช จันคง
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธัญชนก รัตน์วิจิตต์เวช
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชญาณิศา ชิติโชติปัญญา
  16. อาจารย์ ดร. รัตนา ฉันทเตยานนท์

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่