ข้อมูลหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาเอก
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(เภสัชวิทยา)

จุดเด่นของหลักสูตร

The programme provides the opportunity for students to spend their time teaching classes, and doing important biological research. They will undertake activities to facilitate written communication skills, develop an understanding of the responsible conduct of science, and examine career opportunities.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
และเรียนรายวิชา ตามคำแนะนำของกรรมการบริหารหลักสูตรเพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต
แบบ ๒
แบบ ๒.๑           
หมวดวิชาบังคับ 6            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 36            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 48            หน่วยกิต
แบบ ๒.๒           
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 48            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 72            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- วิทยากรผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านเภสัชวิทยาในสถาบันอุดมศึกษา
- นักวิจัยด้านเภสัชวิทยาในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
- นักวิชาการด้านเภสัชวิทยาในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
- ผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาด้านเภสัชวิทยา
- ผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาในอุตสาหกรรมผลิตยา

รายวิชาในหลักสูตร

แบบ 1

ไม่ระบุหมวดวิชา หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทภส๖๘๒ : สัมมนาทางเภสัชวิทยาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทภส๘๙๘ : วิทยานิพนธ์ 48

แบบ 2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทภส๕๐๑ : วิธีการทดลองปฏิบัติการทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๕๐๒ : หลักการออกฤทธิ์ของยา 2
วทภส๕๑๑ : วิทยาการทางเภสัชวิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 2
วทภส๕๑๒ : พื้นฐานชีววิทยาเชิงระบบสำหรับเภสัชวิทยา 2
วทภส๕๒๑ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๑ 3
วทภส๕๒๒ : เภสัชวิทยาเชิงระบบ ๒ 2
วทภส๖๑๖ : การวิเคราะห์และการเขียนวรรณกรรมวิจัยทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๖๑๗ : การวิจัยขั้นสูงและนวัตกรรมทางเภสัชวิทยา 3
วทภส๖๘๒ : สัมมนาทางเภสัชวิทยาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทภส๖๑๖ : การวิเคราะห์และการเขียนวรรณกรรมวิจัยทางเภสัชวิทยา 1
วทภส๖๑๗ : การวิจัยขั้นสูงและนวัตกรรมทางเภสัชวิทยา 3
วทภส๖๘๒ : สัมมนาทางเภสัชวิทยาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคร๕๒๐ : ศาสตร์ทางการสอนและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ศึกษา 2
วทภส๕๐๙ : เภสัชวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทภส๕๑๐ : เภสัชพันธุศาสตร์ 1
วทภส๖๐๑ : แนวคิดทางคลินิกในเภสัชวิทยา 2
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
บฑคร๖๐๓ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๒ : การสอบปริมาณการจับตัวรับและเอนไซม์เชิงจลน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
วทคร๕๒๐ : ศาสตร์ทางการสอนและนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ศึกษา 2
วทภส๕๐๙ : เภสัชวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทภส๕๑๐ : เภสัชพันธุศาสตร์ 1
วทภส๖๐๑ : แนวคิดทางคลินิกในเภสัชวิทยา 2
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี
วทภส๗๙๙ : วิทยานิพนธ์ 48
   สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท
วทภส๖๙๙ : วิทยานิพนธ์ 36

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. รองศาสตราจารย์ ดร. นพวรรณ ภู่มาลา มอราเลส   (ประธานหลักสูตร)
  2. ศาสตราจารย์ ดร. ศุภโชค มั่งมูล
  3. ศาสตราจารย์ นพ. วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด
  4. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. ณัฐวุธ สิบหมู่
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. ดาราวรรณ ปิ่นทอง
  6. รองศาสตราจารย์ ดร.พญ. ณัฏฐิณี จันทรรัตโนทัย
  7. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ. พรพรรณ วิวิธนาภรณ์
  8. รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ. ฤดี เหมสถาปัตย์
  9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พญ. พิมทิพย์ สังวรินทะ
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. พรรษกร ตันรัตนะ
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรทิพา กอประเสริฐถาวร
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ. กรานต์ สุขนันทร์ธะ
  13. อาจารย์ ดร.นพ. สมชาย ญาณโรจนะ
  14. อาจารย์ ดร. บดี หนูโท

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่

สอบถามข้อมูล