ข้อมูลหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง (หลักสูตรนานาชาติ) 

ข้อมูลหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง (หลักสูตรนานาชาติ) 

ระดับ ปริญญาโท
คณะ / สถาบัน คณะวิทยาศาสตร์
เว็บไซต์ http://www.sc.mahidol.ac.th

ชื่อปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(กายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง)

จุดเด่นของหลักสูตร

Graduate students in M.Sc. and Ph.D. programmes can select their research topics from a wide variety of ongoing research both in the Department of Anatomy and in the Center of Excellence. Market demand for graduates from our programs is still high, especially in government and private universities. Graduates will be trained to be a professional in teaching and research skills.

คุณสมบัติของผุู้เข้าศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก๒
หมวดวิชาบังคับ 18            หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6            หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12            หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36            หน่วยกิต

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา


- ผู้ชำนาญการด้านกายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง
- นักวิจัยด้านกายวิภาคศาสตร์ หรือด้านชีววิทยาโครงสร้างในสถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน
- นักวิจัยด้านชีววิทยาศาสตร์การแพทย์ในสถาบันวิชาการของภาครัฐและเอกชน
- นักวิทยาศาสตร์ด้านกายวิภาคศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษา

รายวิชาในหลักสูตร

แผน ก แบบ ก2

หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
วทกว๕๐๒ : ชีววิทยาระบบประสาทโครงสร้าง 3
วทกว๕๒๑ : การชำแหละมหกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ 2
วทกว๕๒๒ : ชีววิทยาโครงสร้างของเซลล์และเนื้อเยื่อ 3
วทกว๕๒๓ : โครงสร้างและพัฒนาการของร่างกายมนุษย์ 3
วทกว๖๑๓ : สัมมนาทางกายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง ๑ 1
วทกว๖๑๔ : สัมมนาทางกายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง ๒ 1
วทคร๕๐๐ : ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล 3
วทคร๕๑๔ : การใช้สัตว์ทดลองในงานวิจัยทางชีวการแพทย์ 1
วทคร๕๑๘ : ทักษะทั่วไปในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 1
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
วทกว๖๒๐ : หัวข้อคัดสรรประสาทวิทยาศาสตร์ระดับเซลล์ 1
วทกว๖๒๑ : หัวข้อหลักในชีววิทยาการเจริญเชิงบูรณาการ 1
วทกว๖๒๒ : พัฒนาการของเอ็มบริโอมนุษย์ 2
วทกว๖๒๓ : หัวข้อคัดสรรทางพันธุศาสตร์การแพทย์และการเจริญ 1
วทคร๕๐๗ : เทคนิคการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1
วทคร๕๐๘ : เทคนิคด้านชีวโมเลกุลและด้านสเปกโทรสโกปี 1
วทคร๕๐๙ : เทคนิคการแยกสาร 1
วทคร๕๑๐ : ระเบียบวิธีวิทยาภูมิคุ้มกัน 1
วทคร๕๑๑ : เทคโนโลยีด้านยีน 1
วทคร๕๑๓ : เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ 1
วทคร๕๑๖ : ชีวสถิติ 3
วทคร๕๓๑ : การประยุกต์คอมพิวเตอร์ 3
วทคร๕๓๒ : การเขียนโปรแกรม 3
วทคร๕๓๓ : การประยุกต์โปรแกรมประมวลคำและนำเสนอข้อมูลสำหรับงานวิจัย 1
วทคร๕๓๔ : การประยุกต์โปรแกรมตารางคำนวณสำหรับงานวิจัย 1
วทคร๕๓๕ : การจัดการฐานข้อมูลสำหรับงานวิจัย 1
วททช๕๐๒ : เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
วทกว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12

อาจารย์ประจำหลักสูตร

  1. ศาสตราจารย์ ดร. กนกพรรณ วงศ์ประเสริฐ
  2. รองศาสตราจารย์ ดร. กุลธิดา ชัยธีระยานนท์
  3. รองศาสตราจารย์ ดร. ไกร มีมล
  4. รองศาสตราจารย์ ดร. เจริญศรี ธนบุญสมบัติ
  5. รองศาสตราจารย์ ดร. วัฒนา วีรชาติยานุกูล
  6. รองศาสตราจารย์ ดร. สมลักษณ์ อสุวพงษ์พัฒนา
  7. รองศาสตราจารย์ ดร. ยสวันต์ ตินิกุล
  8. รองศาสตราจารย์ ดร. รพีพรรณ วานิชวิริยกิจ
  9. รองศาสตราจารย์ ดร.นพ. เพิ่มพันธุ์ ธรรมสโรช
  10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐเมธี เครือภูงา
  11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นพพร จงกมลวิวัฒน์
  12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ. ชินวุฒิ สุริยนเปล่งแสง
  13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มรกต สร้อยระย้า
  14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนพงศ์ เครื่องคำ
  15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรวิทย์ ศุภมั่งมี
  16. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิทธิพล อินทรพัฒน์
  17. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมยศ ศรีดุรงฤทธิ์
  18. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนสิชา สมฤทธิ์
  19. อาจารย์ ดร. เพชรัตน์ พานทอง
  20. อาจารย์ ดร. อธิคุณ สุวรรณชันธ์

ผู้สนใจเข้าศึกษา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ gradthai@mahidol.ac.th or LINE Official @160ohrzm

สร้างโอกาสของความเป็นผู้นำ ที่สุดของการเรียนรู้กับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา สร้างโอกาสให้ทุกฝันของคนรุ่นใหม่ ไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่

สอบถามข้อมูล