COURSE OUTLINE
1. Suject PYPY660 ADVANCED PHARMACEUTICS I
ภกภก๖๖๐ เภสัชการขั้นสูง ๑
2. Program/Course Type MASTER OF SCIENCE IN PHARMACY PROGRAM IN PHARMACEUTICS (INTERNATIONAL PROGRAM)
3. Course Objecttive 1. อธิบายปรากฏการทางเภสัชกรรม โดยใช้ความรู้ทางเคมีฟิสิกส์ เช่น เทอร์โมไดนามิกส์ สมดุลเคมี การเปลี่ยนแปลงวัฏภาค และอื่นๆ
2. อธิบายหลักการคำนวณคุณสมบัติของสารละลายอิเล็กโตรไลท์ และสารละลายที่มิใช่อิเล็กโตรไลท์
3. เข้าใจทฤษฎีการละลาย การแบ่งภาค และระบบการจัดกลุ่มสารตามหลักชีวเภสัชการ (Biopharmaceutic Classification Systems)
4. ประยุกต์ใช้สมดุลเคมีในการคำนวณ pH บัฟเฟอร์และขีดการละลายของสารอิเล็กโตรไลท์
5. อธิบายกฎการแพร่ การวัดสัมประสิทธิ์การแพร่และการซึมผ่าน
6. ประยุกต์ใช้สมการคณิตศาสต์ เพื่ออธิบายอัตราการละลาย อัตราการปลดปล่อยตัวยา และการนำส่งสาร
7. อธิบายชนิดของปฏิกิริยาการเสื่อมสลายแบบต่างๆ ของสารสำคัญในผลิตภัณฑ์
8. วิเคราะห์จลนศาสตร์ของการเสื่อมสลายของสารสำคัญ ตลอดจนลำดับของปฏิกิริยาการเสื่อมสลาย
9. อธิบายวิธีการหาอายุการใช้งาน (shelf-life) ของผลิตภัณฑ์
10. อธิบายลักษณะของความไม่คงตัวของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนแนวทางในการป้องกันความไม่คงตัวนั้นๆ
11. อธิบายวิธีทดสอบความคงตัวของผลิตภัณฑ์ตามข้อกำหนด
4. Course Director
5. Teaching Plan
week/No.Tiltlelecture hourLaboratory HourSelf study HourActivitiesTeacher
01อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics) ก๊าซอุดมคติ (Ideal gas) และก๊าซจริง (Real gase) กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ เอนทาลปี (Enthalpy) และความจุความร้อน (Heat capacity) Thermochemistry กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ กฎข้อที่สามของอุณหพลศาสตร์ ฟังก์ชันของพลังงานอิสระ (Free Energy) และการประยุกต์ใช้ 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมรศ.ดร. ผกาทิพย์ รื่นระเริงศักดิ์
02การละลาย และการกระจาย(Distribution) การละลายของของแข็ง และของเหลวที่ไม่ระเหย ในของเหลว การละลายของของเหลวที่ระเหยในของเหลว การละลายของก๊าซใของเหลว 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมรศ.ดร. ผกาทิพย์ รื่นระเริงศักดิ์
03สมบัติคอลลิเกทิฟ (Colligative Properties) การลดลงของจุดแยกแข็งและการเพิ่มขึ้นของจุดเดือด ความดันออสโมซิส (Osmotic Pressure) การลดลงของความดันไอ สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic Solutions) 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมรศ.ดร. จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์
04กฏการกระจาย (สัมประสิทธิ์การแบ่งส่วน) การกระจายและการละลายของกรดอ่อนและเบสอ่อน การกระจายและการละลายของสารประกอบเชิงซ้อน (Inclusion Complexes) การกระจายของยาในโปรตีน 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมรศ.ดร. จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์
05อันตรกิริยาระดับโมเลกุล (Molecular Interactions) 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมรศ.ดร. จิรพงศ์ สุขสิริวรพงศ์
06สมดุลไอออน (Ionic Equilibrium) สมดุลกรดด่างและค่าพีเอช สารละลายบัฟเฟอร์และสมการเฮนเดอร์สัน-แฮสเซลบาลค์ (Henderson Hasselbalch Equation) 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมผศ.ดร. อัญชลี จินตพัฒนากิจ
07ค่าการละลายและสมดุลกรดด่าง ค่าพีเอชและค่าการละลายของยา ค่าพีเอชและการดูดซึมยา 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมผศ.ดร. อัญชลี จินตพัฒนากิจ
08เกลือละลายน้อย ค่าคงที่ผลคูณการละลาย ค่าการละลายของเกลือละลายน้อย ผลกระทบของความแรงไอออน (Ionic Strength) ต่อค่าการละลาย 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมผศ.ดร. อัญชลี จินตพัฒนากิจ
09ปรากฏการณ์ถ่ายเทมวลสาร กระบวนการแพร่ กระบวนการละลาย 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมผศ.ดร. อมราพร วงศ์รักษ์พานิช
10ชีวเภสัชศาสตร์และข้อคำนึงถึงทางทางสรีรวิทยาต่อการนำส่งยา การเคลื่อนถ่ายของยาผ่านเมมเบรนชีวภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึม กลไกการของระบบนำส่งยาชนิดควบคุม 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมผศ.ดร. อมราพร วงศ์รักษ์พานิช
11จลนศาสตร์ทางเคมีและความคงตัว อัตราเร็วและอันดับของปฏิกิริยา ปฏิกิริยาอันดับศูนย์ ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง ปฏิกิริยาอันดับสอง 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมศ. ดร. วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ
12จลนศาสตร์ของปฏิกิริยาซับซ้อน ปฏิกิริยาแบบขนาน ปฏิกิริยาผันกลับ ปฏิกิริยาต่อเนื่อง และปฏิกิริยาระหว่างเอนไซม์และสารตั้งตัน 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมศ. ดร. วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ
13ทฤษฎีของจลนศาสตร์ทางเคมี ทฤษฎีการชน ทฤษฎีสภาวะทรานสิชัน 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมศ. ดร. วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ
14ปัจจัยที่ส่งผลต่อดัตราเร็วของปฏิกิริยาทางเคมี อุณหภูมิ ผลกระทบของตัวทำละลาย ความแรงไอออน ตัวเร่งปฏิกิริยา 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมศ. ดร. วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ
15กระบวนการเสื่อมสลายของยา การทดสอบความคงตัวสภาวะเร่ง ข้อกำหนดและแนวปฏิบัติการทดสอบความคงตัว 3 0 6 บรรยายโดยใช้เอกสารการสอน และค้นคว้าเพิ่มเติมศ. ดร. วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ
16รวมจำนวนชั่วโมงตลอดภาคการศึกษา45 0 90
6. Textbook
-