Human parasites contaminated in environment, occurrence and spreading, importance and impact on health, factors affecting parasite contamination; surveys of parasitic contamination in water, soil, food, wastewater and sludge from excreta treatment system;environmental impact assessment (EIA; regulation and guideline for sludge and wastewater utilization in agriculture
ปรสิตก่อโรคที่พบในสิ่งแวดล้อม การอุบัติและการแพร่กระจาย ความสำคัญและผลกระทบต่อสุขภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการปนเปื้อน การสำรวจการปนเปื้อนเชื้อปรสิต ในน้ำ ดิน อาหาร กากตะกอนและน้ำทิ้งจากระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ข้อกำหนดและแนวปฏิบัติในการใช้กากตะกอนและน้ำเสียในงานกสิกรรม
PUBLIC HEALTH
กลุ่มสาธารณสุขศาสตร์
1. Having a basic knowledge of health science and parasitology 2. Undergraduates students or graduates who are holding a degree in health science and related fields
1.มีความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และปรสิตวิทยา 2.กำลังศึกษาอยู่ระดับปริญญาตรี หรือสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2500 Per Credit / 2 Credit
1. Students who study in the faculties of Public Health, Medicine, Medical Technology, Veterinary Medicine, and Science. 2. Doctors, veterinarians, medical personnel, and public health officials in related organizations. 3. Researchers in related fields. 4. Employees in sewage treatment plants and companies that provide services related to sewage and wastewater treatment. 5. Interested individuals.
1. นิสิต นักศึกษา ที่ศึกษาในคณะสาธารณสุขศาสตร์ แพทยศาสตร์ เทคนิคการแพทยศาสตร์ สัตวแพทย์ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 2. แพทย์ สัตวแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. นักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง 4. ผู้ปฏิบัติงานในสถานบำบัดกากตะกอนและน้ำทิ้ง รวมถึงบริษัทที่ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับระบบบำบัดกากตะกอนและน้ำทิ้ง 5. ผู้ที่สนใจ
1. To gain knowledge of environmental parasitology and sanitary parasitology 2. Able to bring obtained credits to be used for transferring in admission at the M.Sc. Program in Public Health Infectious Diseases and Epidemiology, Faculty of Public Health, Mahidol University
1. ได้รับความรู้ทางด้านปรสิตวิทยาสิ่งแวดล้อมและปรสิตวิทยาสุขาภิบาล 2. สามารถนำหน่วยกิตที่ได้ ไปใช้เทียบโอนหน่วยกิตเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หลักสูตร วท.ม. สาขาวิชาโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาดทางการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดลได้
สอบ
1. Class attendance and participation 10% 2. Assignments 40% 3. Report 10% 4. Final Examination 40% Required to attend at least 80% of the total course duration.
1. การเข้าชั้นเรียนและมีส่วนร่วมในการอภิปราย 10 % 2. งานที่ได้รับมอบหมาย 40% 3. รายงาน 10% 4. การสอบข้อเขียน 40% กำหนดให้เข้าเรียนไม่ต่ำกว่า 80% ของระยะเวลาเรียนทั้งหมด
1 | อ. ดร. วรากร โกศัยเสวี |
2 | อ. พญ. ประภัสสร เพ็ชรกิจ |
3 | รศ. ดร. สุวรรณา เชาวน์รัตนกวี |
4 | ผศ. ดร. ทวี สายวิชัย |
5 | อ. ดร. สิริลักษณ์ ดุสิตสิทธิพร |
6 | อ. ดร.น.สพ. วนฤทธิ์ จิตสมัย |
Start 22 May 2023 to 16 July 2023
45 hours
Room 6408, Faculty of Public Health, Mahidol University
ห้อง 6408 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
1 to 5
-