Principles, key elements, the development, and use of information technology in the community health development; the application of information technology for assessing the health situation, risks and impacts; health and disease surveillance, and planning for the health system development in diversified population and geographical characteristics both in normal and emergency situations
หลักการ สาระสำคัญ การพัฒนาและใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาสุขภาพชุมชน การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการประเมินสถานการณ์สุขภาพ ความเสี่ยงและผลกระทบต่อสุขภาพ เฝ้าระวังสุขภาพและความเจ็บป่วย และวางแผนพัฒนาระบบสุขภาพ ในกลุ่มประชากรและลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย ทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉิน
PUBLIC HEALTH
กลุ่มสาธารณสุขศาสตร์
1. Interested in the temporal and spatial analysis 2. Have basic computer knowledge and skills 3. Have a notebook computer and a smart phone
1. มีความสนใจการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเวลาและพื้นที่ 2. มีความรู้และทักษะคอมพิวเตอร์พื้นฐาน 3. มีคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คและโทรศัพท์มือถือแบบ Smart phone
2500 Per Credit / 2 Credit
1. Undergraduate and graduate students 2. Public Health and Health personnel 3. Local government personnel
1. นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา 2. บุคลากรด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 3. บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Graduates have the following knowledge and skills: 1. Temporal analysis of public health and health problems (seasonal, cycliic, trend) 2. Forecast of public health and health problems 3. Create, import, and present a map showing physical data, resources, social capital, target audience, health status, and related factors 4. Analyze and present a map of the clustering of health problems or risk areas 5. Apply information technology in public health and community health development
ผู้เรียนจบมีความรู้และทักษะดังต่อไปนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขและสุขภาพเชิงเวลา (ฤดูกาล วงรอบ แนวโน้ม) 2. พยากรณ์ปัญหาสาธารณสุขและสุขภาพ 3. สร้าง นำเข้า และนำเสนอแผนที่แสดงข้อมูลกายภาพ ทรัพยากร ทุนทางสังคม กลุ่มเป้าหมาย ภาวะสุขภาพ และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 4. วิเคราะห์และนำเสนอแผนที่การเกาะกลุ่มของปัญหาสุขภาพหรือพื้นที่เสี่ยง 5. ประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการเพื่อพัฒนางานสาธารณสุขและสุขภาพชุมชน
ไม่สอบ
1. Class attendance 2. Assignments (Presentation and Report)
1. การเข้าเรียน 2. งานมอบหมาย (การนำเสนอและรายงาน)
1 | รศ. ดร. ทัศนีย์ ศิลาวรรณ |
2 | ดร. สยัมภู ใสทา |
3 | อ. ดร. ระพีพันธ์ จอมมะเริง |
4 | นาย ณัฐวัชร์ นิลกาญจนกุล |
Start 14 January 2022 to 14 May 2022
45 hours
4th Building, 7th Floor, Room 4715, Faculty of Public Health and online in some topicsine learning
อาคาร 4 ชั้น 7 ห้อง 4715 คณะสาธารณสุขศาสตร์ และในบางหัวจัดการเรียนแบบออนไลน์
3 to 10
-